ซิลิกอนไดออกไซด์
ซิลิกอนไดออกไซด์ (อังกฤษ: silicon dioxide) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า ซิลิกา (จากภาษาละตินคำว่า silex) คือสารประกอบระหว่างออกไซด์และซิลิกอนรวมตัวกันเป็นสูตรทางเคมีคือ SiO2 และเป็นที่รู้กันตั้งแต่สมัยโบราณถึงความแข็งแกร่งของมัน ซิลิกามักพบได้ทั่วไปในธรรมชาติอาจในรูปของทรายหรือควอตซ์ และในผนังเซลล์ของไดอะตอม ซิลิกาเป็นสารประกอบที่มีจำนวนมากโดยทั่วไปบนเปลือกโลก[1][2]
ซิลิกาได้นำมาใช้เป็นวัสดุในการผลิตที่หลากหลาย อาทิ แก้ว, คริสตัล, เจล, แอโรเจล, ซิลิการมควัน และคอลลอยดอลซิลิกา ยิ่งไปกว่านั้น ซิลิกานาโนสปริงก็ผลิตขึ้นจากวิธีความดันไอ-ของเหลว-ของแข็ง ในอุณหภูมิที่ใกล้เคียงกับอุณหภูมิห้อง[3]
ซิลิกาใช้เป็นวัสดุเบื้องต้นในการผลิตกระจก, แก้วน้ำและขวดแก้ว สายใยแก้วที่ใช้ในการโทรคมนาคมก็เป็นผลิตผลจากซิลิกาเช่นเดียวกัน และยังใช้เป็นวัตถุดิบแรกเริ่มในผลิตภัณฑ์จำพวกเซรามิกเช่น เครื่องปั้นดินเผา, เครื่องหิน, เครื่องลายคราม และการผลิตพาร์ตแลนด์ซีเมนต์
อ้างอิง
แก้- ↑ Iler, R.K. (1979). The Chemistry of Silica. Plenum Press. ISBN 047102404X.
- ↑ Lynn Townsend White, Jr. (1961). "Eilmer of Malmesbury, an Eleventh Century Aviator: A Case Study of Technological Innovation, Its Context and Tradition". Technology and Culture. 2 (2): 97–111. doi:10.2307/3101411.
- ↑ Lidong Wang, D Major, P Paga, D Zhang, M G Norton, D N McIlroy (2006). "High yield synthesis and lithography of silica-based nanospring mats". Nanotechnology. 17: S298–S303. doi:10.1088/0957-4484/17/11/S12.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- amorphous, NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards
- crystalline, as respirable dust, NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards
- Formation of silicon oxide layers in the semiconductor industry. LPCVD and PECVD method in comparison. Stress prevention.
- Quartz SiO2 piezoelectric properties เก็บถาวร 2008-05-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Silica (SiO2) and Water
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Silicon dioxide