ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ช้างอารีนา"
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม) ล ลบหมวดหมู่:ก่อตั้งในจังหวัดบุรีรัมย์ในปี พ.ศ. 2554; เพิ่มหมวดหมู่:ก่อตั้งในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2554ด้วยฮอทแคต |
||
(ไม่แสดง 20 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 12 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{กล่องข้อมูล สนามกีฬา |
{{กล่องข้อมูล สนามกีฬา |
||
| stadium_name = ช้างอารีนา |
| stadium_name = ช้างอารีนา |
||
| nickname = บุรีรัมย์ สเตเดียม |
|||
| nickname = ไอ-โมบายล์ ธันเดอร์คาสเซิลสเตเดียม |
|||
| image = [[ไฟล์:Isan, Mueang Buri Ram District, Buri Ram 31000, Thailand - panoramio (6).jpg|270px]] |
| image = [[ไฟล์:Isan, Mueang Buri Ram District, Buri Ram 31000, Thailand - panoramio (6).jpg|270px]] |
||
| former names = ไอ-โมบาย สเตเดียม |
|||
| location = [[ตำบลอิสาณ]] [[อำเภอเมืองบุรีรัมย์]] [[จังหวัดบุรีรัมย์]] {{ธง|ไทย}} [[ประเทศไทย]] |
| location = [[ตำบลอิสาณ]] [[อำเภอเมืองบุรีรัมย์]] [[จังหวัดบุรีรัมย์]] {{ธง|ไทย}} [[ประเทศไทย]] |
||
| coordinates = {{coord|14|58|00|N|103|05|46|E|type:landmark_source:kolossus-jawiki|display=inline, title}} |
| coordinates = {{coord|14|58|00|N|103|05|46|E|type:landmark_source:kolossus-jawiki|display=inline, title}} |
||
|publictransit = {{rint|th| |
|publictransit = {{rint|th|srt}} {{rcb|SRT|Northeastern|inline=small}}: สถานีบุรีรัมย์ |
||
| opened = 11 มิถุนายน พ.ศ. 2554 |
| opened = 11 มิถุนายน พ.ศ. 2554 |
||
| renovated = |
| renovated = |
||
| expanded = พ.ศ. 2557 |
|||
| owner = [[สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด]] |
| owner = [[สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด]] |
||
| operator = [[สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด]] |
| operator = [[สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด]] |
||
| architect = |
| architect = |
||
| tenants = [[สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด]]<br>[[ |
| tenants = [[สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด]] (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน)<br>[[เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบที่ 3]]<br>[[ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020]]<br>[[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 47|ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ 2562]]<br>[[เอเชียนคัพ 2023 รอบคัดเลือก – รอบที่ 3]] |
||
| seating_capacity = 24,000 ที่นั่ง <small>(พ.ศ. 2554 - 2556)</small> <br> 32,600 ที่นั่ง <small>(พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน)</small> |
| seating_capacity = 24,000 ที่นั่ง <small>(พ.ศ. 2554 - 2556)</small> <br> 32,600 ที่นั่ง <small>(พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน)</small> |
||
<ref name="stadium">[http://www.thairath.co.th/content/sport/380338 อลังการงานสร้าง! 'บิ๊กเน' ทุ่มเพิ่มขนาดความจุอัฒจันทร์ 32,000 ที่นั่ง]</ref> |
<ref name="stadium">[http://www.thairath.co.th/content/sport/380338 อลังการงานสร้าง! 'บิ๊กเน' ทุ่มเพิ่มขนาดความจุอัฒจันทร์ 32,000 ที่นั่ง]</ref> |
||
บรรทัด 17: | บรรทัด 19: | ||
}} |
}} |
||
'''ช้างอารีนา''' ({{ |
'''ช้างอารีนา''' ({{langx|en|Chang Arena}}, ชื่อเดิม: ไอ-โมบาย สเตเดียม) มีชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า '''ไอ-โมบายล์ธันเดอร์คาสเซิลสเตเดียม''' ({{langx|en|Thunder Castle Stadium}}) เป็น[[สนามกีฬา]]ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสนามเหย้าของ[[สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด]] ตั้งอยู่ที่[[ตำบลอิสาณ]] [[อำเภอเมืองบุรีรัมย์]] [[จังหวัดบุรีรัมย์]] สนามแห่งนี้มีความจุ 24,000 ที่นั่ง (ในปี พ.ศ. 2557 ได้ต่อเติมเป็น 32,600 ที่นั่ง) โครงสร้างประกอบด้วย[[เหล็ก]]และ[[ไฟเบอร์]] ซึ่งสร้างด้วยงบประมาณกว่า 500 ล้านบาท โดยเป็นเงินสนับสนุนภายใต้สัญญาการกำหนดชื่อจาก[[ไอ-โมบาย]]และบางส่วนของนาย[[เนวิน ชิดชอบ]] จัดเป็นสนามฟุตบอลที่ได้มาตรฐานแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทยที่ไม่มีลู่วิ่งคั่นสนามและผ่านมาตรฐานระดับโลกจาก[[สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ]],มาตรฐานสนามกีฬาระดับเอจาก[[สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย]] และ[[สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน]] และยังได้บันทึกลง[[กินเนสบุ๊ค]]ว่าเป็นสนามฟุตบอลในระดับฟีฟ่าที่ใช้เวลาก่อสร้างน้อยที่สุดในโลกคือ 256 วัน<ref name="สยามกีฬา">{{Cite web |url=http://www.siamsport.co.th/history_human.asp?idh=141 |title=ยลโฉมสนาม ไอ-โมบาย สเตเดียม อลังการมาตรฐานสุดจะบรรยาย |access-date=2018-01-12 |archive-date=2016-03-05 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160305065203/http://siamsport.co.th/history_human.asp?idh=141 |url-status=dead }}</ref> |
||
สนามนี้มีทั้งหมด 4 ชั้น โดยชั้นที่ 1 เป็นสำนักงานห้องแถลงข่าว ห้องสื่อมวลชน ร้านขายสินค้าที่ระลึก ห้องนักกีฬาทีมเหย้า-เยือน ห้องพักผู้ตัดสิน ห้องปฐมพยาบาล และห้องประชุม ชั้นที่ 2 จะเป็นห้องจัดเลี้ยงใหญ่จำนวน 400 ที่นั่ง ชั้นที่ 3 เป็นห้องวีไอพี 6 ห้อง และห้องจัดเลี้ยง 1 ห้อง และชั้นที่ 4 มีห้องวีไอพีจำนวน 15 ห้อง สนามแห่งนี้ยังมีการติดตั้งไฟส่องสว่างตามมาตรฐาน |
สนามนี้มีทั้งหมด 4 ชั้น โดยชั้นที่ 1 เป็นสำนักงานห้องแถลงข่าว ห้องสื่อมวลชน ร้านขายสินค้าที่ระลึก ห้องนักกีฬาทีมเหย้า-เยือน ห้องพักผู้ตัดสิน ห้องปฐมพยาบาล และห้องประชุม ชั้นที่ 2 จะเป็นห้องจัดเลี้ยงใหญ่จำนวน 400 ที่นั่ง ชั้นที่ 3 เป็นห้องวีไอพี 6 ห้อง และห้องจัดเลี้ยง 1 ห้อง และชั้นที่ 4 มีห้องวีไอพีจำนวน 15 ห้อง สนามแห่งนี้ยังมีการติดตั้งไฟส่องสว่างตามมาตรฐาน |
||
บรรทัด 38: | บรรทัด 40: | ||
| 15 กรกฎาคม 2554 || {{fb|THA}} || 1 - 1 || {{fb|Myanmar}} || อุ่นเครื่อง |
| 15 กรกฎาคม 2554 || {{fb|THA}} || 1 - 1 || {{fb|Myanmar}} || อุ่นเครื่อง |
||
|- |
|- |
||
| 23 กรกฎาคม 2554 || {{fb|THA}} || 1 - 0 || {{fb|PLE}} || ฟุตบอลโลก 2014 รอบคัดเลือก |
| 23 กรกฎาคม 2554 || {{fb|THA}} || 1 - 0 || {{fb|PLE}} || [[ฟุตบอลโลก 2014 รอบคัดเลือก]] |
||
|- |
|- |
||
|- |
|- |
||
| 10 พฤศจิกายน 2560 || {{fb|PRK}} || 4–1 || {{fb|MAS}} ||เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบที่ 3 |
| 10 พฤศจิกายน 2560 || {{fb|PRK}} || 4–1 || {{fb|MAS}} ||[[เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบที่ 3]] |
||
|- |
|- |
||
| 13 พฤศจิกายน 2560 || {{fb|MAS}} || 1–4 || {{fb|PRK}} ||เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบที่ 3 |
| 13 พฤศจิกายน 2560 || {{fb|MAS}} || 1–4 || {{fb|PRK}} ||[[เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบที่ 3]] |
||
|- |
|- |
||
|5 มิถุนายน 2562 || {{ |
|5 มิถุนายน 2562 || {{fb|Curacao}} || 3–1 ||{{fb|IND}} ||[[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 47]] |
||
|- |
|- |
||
|5 มิถุนายน 2562 || {{ |
|5 มิถุนายน 2562 || {{fb|Vietnam}} || 1–0 || {{fb|THA}} ||[[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 47]] |
||
|- |
|- |
||
|8 มิถุนายน 2562 || {{fb|THA}} || 0–1 || {{fb|IND}} ||คิงส์คัพ |
|8 มิถุนายน 2562 || {{fb|THA}} || 0–1 || {{fb|IND}} ||[[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 47]] |
||
|- |
|- |
||
|8 มิถุนายน 2562 || {{ |
|8 มิถุนายน 2562 || {{fb|Vietnam}} || 1–1{{pso|4–5}} || {{fb|Curacao}} ||[[ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 47]] |
||
|- |
|- |
||
|10 มกราคม 2563||{{ |
|10 มกราคม 2563||{{fb|VIE}}|| 0-0 ||{{fb|UAE}} ||[[เอเอฟซี ยู-23]] รอบแบ่งกลุ่ม |
||
|- |
|- |
||
|10 มกราคม 2563||{{ |
|10 มกราคม 2563||{{fb|PRK}}|| 1-2 ||{{fb|JOR}} ||[[เอเอฟซี ยู-23]] รอบแบ่งกลุ่ม |
||
|- |
|- |
||
|13 มกราคม 2563||{{ |
|13 มกราคม 2563||{{fb|UAE}}|| 2-0 ||{{fb|PRK}}||[[เอเอฟซี ยู-23]] รอบแบ่งกลุ่ม |
||
|- |
|- |
||
|13 มกราคม 2563|| {{ |
|13 มกราคม 2563|| {{fb|JOR}} || 0-0 ||{{fb|VIE}} ||[[เอเอฟซี ยู-23]] รอบแบ่งกลุ่ม |
||
|- |
|- |
||
|16 มกราคม 2563||{{ |
|16 มกราคม 2563||{{fb|JOR}} || 1-1 ||{{fb|UAE}} ||[[เอเอฟซี ยู-23]] รอบแบ่งกลุ่ม |
||
|- |
|- |
||
|7 ตุลาคม 2564 |
|7 ตุลาคม 2564 |
||
บรรทัด 67: | บรรทัด 69: | ||
|2–1 |
|2–1 |
||
|{{fb|TPE}} |
|{{fb|TPE}} |
||
|เอเชียนคัพ 2023 รอบเพลย์ออฟ |
|[[เอเชียนคัพ]] 2023 รอบเพลย์ออฟ |
||
|- |
|- |
||
|11 ตุลาคม 2564 |
|11 ตุลาคม 2564 |
||
บรรทัด 73: | บรรทัด 75: | ||
|0–3 |
|0–3 |
||
|{{fb|IDN}} |
|{{fb|IDN}} |
||
|เอเชียนคัพ 2023 รอบเพลย์ออฟ |
|[[เอเชียนคัพ]] 2023 รอบเพลย์ออฟ |
||
|} |
|} |
||
บรรทัด 86: | บรรทัด 88: | ||
{{จังหวัด/บุรีรัมย์}} |
{{จังหวัด/บุรีรัมย์}} |
||
{{สร้างปี|2553}} |
|||
[[หมวดหมู่:สนามฟุตบอลที่สร้างเสร็จในปี พ.ศ. 2554]] |
|||
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2554]] |
|||
[[หมวดหมู่:สนามฟุตบอลในประเทศไทย]] |
[[หมวดหมู่:สนามฟุตบอลในประเทศไทย]] |
||
[[หมวดหมู่:สนามฟุตบอลไทยลีก]] |
[[หมวดหมู่:สนามฟุตบอลไทยลีก]] |
||
[[หมวดหมู่:สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด]] |
[[หมวดหมู่:สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด]] |
||
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างตั้งแต่ พ.ศ. 2554]] |
|||
[[หมวดหมู่:สนามกีฬาในจังหวัดบุรีรัมย์]] |
[[หมวดหมู่:สนามกีฬาในจังหวัดบุรีรัมย์]] |
||
[[หมวดหมู่:เบียร์ช้าง]] |
[[หมวดหมู่:เบียร์ช้าง]] |
||
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างใน |
[[หมวดหมู่:สิ่งก่อสร้างในเขตเทศบาลนครบุรีรัมย์]] |
||
[[หมวดหมู่:สถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดบุรีรัมย์]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 19:42, 24 พฤศจิกายน 2567
บุรีรัมย์ สเตเดียม | |
ชื่อเดิม | ไอ-โมบาย สเตเดียม |
---|---|
ที่ตั้ง | ตำบลอิสาณ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ประเทศไทย |
พิกัด | 14°58′00″N 103°05′46″E / 14.96667°N 103.09611°E |
ขนส่งมวลชน | สายตะวันออกเฉียงเหนือ: สถานีบุรีรัมย์ |
เจ้าของ | สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด |
ผู้ดำเนินการ | สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด |
ความจุ | 24,000 ที่นั่ง (พ.ศ. 2554 - 2556) 32,600 ที่นั่ง (พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน) [1] |
การก่อสร้าง | |
เปิดใช้สนาม | 11 มิถุนายน พ.ศ. 2554 |
ต่อเติม | พ.ศ. 2557 |
การใช้งาน | |
สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (พ.ศ. 2554–ปัจจุบัน) เอเชียนคัพ 2019 รอบคัดเลือก – รอบที่ 3 ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี 2020 ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ 2562 เอเชียนคัพ 2023 รอบคัดเลือก – รอบที่ 3 |
ช้างอารีนา (อังกฤษ: Chang Arena, ชื่อเดิม: ไอ-โมบาย สเตเดียม) มีชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า ไอ-โมบายล์ธันเดอร์คาสเซิลสเตเดียม (อังกฤษ: Thunder Castle Stadium) เป็นสนามกีฬาที่สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด ตั้งอยู่ที่ตำบลอิสาณ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ สนามแห่งนี้มีความจุ 24,000 ที่นั่ง (ในปี พ.ศ. 2557 ได้ต่อเติมเป็น 32,600 ที่นั่ง) โครงสร้างประกอบด้วยเหล็กและไฟเบอร์ ซึ่งสร้างด้วยงบประมาณกว่า 500 ล้านบาท โดยเป็นเงินสนับสนุนภายใต้สัญญาการกำหนดชื่อจากไอ-โมบายและบางส่วนของนายเนวิน ชิดชอบ จัดเป็นสนามฟุตบอลที่ได้มาตรฐานแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทยที่ไม่มีลู่วิ่งคั่นสนามและผ่านมาตรฐานระดับโลกจากสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ,มาตรฐานสนามกีฬาระดับเอจากสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย และสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน และยังได้บันทึกลงกินเนสบุ๊คว่าเป็นสนามฟุตบอลในระดับฟีฟ่าที่ใช้เวลาก่อสร้างน้อยที่สุดในโลกคือ 256 วัน[2]
สนามนี้มีทั้งหมด 4 ชั้น โดยชั้นที่ 1 เป็นสำนักงานห้องแถลงข่าว ห้องสื่อมวลชน ร้านขายสินค้าที่ระลึก ห้องนักกีฬาทีมเหย้า-เยือน ห้องพักผู้ตัดสิน ห้องปฐมพยาบาล และห้องประชุม ชั้นที่ 2 จะเป็นห้องจัดเลี้ยงใหญ่จำนวน 400 ที่นั่ง ชั้นที่ 3 เป็นห้องวีไอพี 6 ห้อง และห้องจัดเลี้ยง 1 ห้อง และชั้นที่ 4 มีห้องวีไอพีจำนวน 15 ห้อง สนามแห่งนี้ยังมีการติดตั้งไฟส่องสว่างตามมาตรฐาน ของฟิลิปส์โดยมีค่าความสว่างของไฟอยู่ที่ 2,000 ลักซ์ ในส่วนอัฒจันทร์ฝั่งกองเชียร์นั้นมีเก้าอี้ที่นั่งเชียร์เป็นสีน้ำเงินเกือบหมด แต่จะใช้เก้าอี้สีขาวตรงที่มีคำว่า ธันเดอร์คาสเซิล และ บุรีรัมย์ มีหัวหน้ากองเชียร์คือ นางกรุณา ชิดชอบ เป็นแกนนำหลักในการเชียร์
ช้างอารีนา เคยใช้เป็นสถานที่จัดคอนเสิร์ตและกิจกรรมรื่นเริงครั้งใหญ่ในเทศกาลสงกรานต์ในปี พ.ศ. 2555 โดยการจัดของนายเนวิน ชิดชอบ ประธานสโมสร โดยมีศิลปินนักร้องมากมาย อาทิ โซระ อาโออิ, เอ็นเอส ยุน จี, ปีเตอร์ คอร์ป ไดเรนดัล, นูโว, ไมโคร, ปกรณ์ ลัม, บอดี้สแลม, คาราบาว, ลาบานูน, บิ๊กแอส, โลโซ เป็นต้น[3]
ปลายปี พ.ศ. 2560 เมื่อกลุ่มสามารถคอร์ปอเรชั่น ได้ยุติตราสินค้าไอ-โมบาย ชื่อสนามจึงได้เปลี่ยนตามผู้สนับสนุนหลักของสโมสรอีกบริษัทหนึ่ง คือ เครื่องดื่มตราช้าง โดยบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ซึ่งสนามแข่งรถที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียง ก็ใช้ชื่อตามตราสินค้านี้เช่นกัน[4]
การแข่งระดับนานาชาติ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ อลังการงานสร้าง! 'บิ๊กเน' ทุ่มเพิ่มขนาดความจุอัฒจันทร์ 32,000 ที่นั่ง
- ↑ "ยลโฉมสนาม ไอ-โมบาย สเตเดียม อลังการมาตรฐานสุดจะบรรยาย". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2018-01-12.
- ↑ "อาโออิ" นำทีมโชว์สงกรานต์ "ไอ-โมบาย สเตเดียม" บุรีรัมย์ จากเดลินิวส์
- ↑ "เมื่อ "CHANG ARENA" คือชื่อใหม่ของ "I-mobile stadium" เหตุใดไอโมบายฯถึงไม่ได้ไปต่อ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-24. สืบค้นเมื่อ 2018-01-12.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ช้างอารีนา