Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ใจกลาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jothefiredragon (คุย | ส่วนร่วม)
Jothefiredragon ย้ายหน้า เคอร์เนล ไปยัง ใจกลาง: ระบบศัพท์บัญญัติ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ( https://coined-word.orst.go.th ) บัญญัติคำว่า kernel และ nucleus ไว้ว่า ใจกลาง
Jothefiredragon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Kernel Layout.svg|thumb|เคอร์เนลเชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์]]
[[ไฟล์:Kernel Layout.svg|thumb|เคอร์เนลเชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์]]



'''เคอร์เนล'''<ref>สะกด kernel ว่า เคอร์เนล ตาม[[ศัพท์บัญญัติ]]ของ[[ราชบัณฑิตยสถาน]]</ref> (kernel อ่านว่า '''เคอร์เนิล''' เนื่องจากตัว e ไม่ออกเสียง) หมายถึง ส่วนประกอบหลักของ[[ระบบปฏิบัติการ]] ซึ่งคอยดูแลบริหารทรัพยากรของระบบ และติดต่อกับ[[ฮาร์ดแวร์]]และ [[ซอฟต์แวร์]] เนื่องจากว่าเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของระบบปฏิบัติการ เคอร์เนล นั้นเป็นฐานล่างสุดในการติดต่อกับทรัพยากรต่างๆ เช่น [[หน่วยความจำ]] หน่วยประมวลผลกลาง และ อุปกรณ์อินพุตและเอาต์พุต
'''ใจกลาง'''{{Efn|ตามระบบศัพท์บัญญัติ [[สำนักงานราชบัณฑิตยสภา]]<ref name="orst">{{Cite web|url=https://coined-word.orst.go.th/index.php |title=ศัพท์บัญญัติ ๔๐ สาขาวิชา สำนักงานราชบัณฑิตยสภา|url-status=live}}</ref>}} หรือ '''เคอร์เนล''' ({{lang-en|kernel}}) หมายถึง ส่วนประกอบหลักของ[[ระบบปฏิบัติการ]] ซึ่งคอยดูแลบริหารทรัพยากรของระบบ และติดต่อกับ[[ฮาร์ดแวร์]]และ [[ซอฟต์แวร์]] เนื่องจากว่าเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของระบบปฏิบัติการ เคอร์เนล นั้นเป็นฐานล่างสุดในการติดต่อกับทรัพยากรต่างๆ เช่น [[หน่วยความจำ]] หน่วยประมวลผลกลาง และ อุปกรณ์อินพุตและเอาต์พุต


== ประเภทรูปแบบ เคอร์เนล ==
== ประเภทรูปแบบ เคอร์เนล ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:50, 30 พฤศจิกายน 2566

เคอร์เนลเชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์


ใจกลาง[a] หรือ เคอร์เนล (อังกฤษ: kernel) หมายถึง ส่วนประกอบหลักของระบบปฏิบัติการ ซึ่งคอยดูแลบริหารทรัพยากรของระบบ และติดต่อกับฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ เนื่องจากว่าเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของระบบปฏิบัติการ เคอร์เนล นั้นเป็นฐานล่างสุดในการติดต่อกับทรัพยากรต่างๆ เช่น หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง และ อุปกรณ์อินพุตและเอาต์พุต

ประเภทรูปแบบ เคอร์เนล

รูปภาพแสดงหลักการทำงานของโมโนลิทิก เคอร์เนล

โมโนลิทิก เคอร์เนล (Monolithic kernel)

โมโนลิทิก เคอร์เนล เป็นเคอร์เนลที่เน้นการทำงานแบบหนึ่งต่อหนึ่ง โดยจะเรียกชุดคำสั่งทั้งหมดทีเดียวในหนึ่งรอบ ทำให้การประมวลผลเร็วมาก แต่มีข้อเสียคือเมื่อเคอร์เนลล่มจะทำให้ระบบแฮงค์ในทันที (ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบเคอร์เนล)

โมโนลิทิก เคอร์เนลมีอยู่ใน:

  • Linux kernel
  • Android OS
  • MS-DOS, Microsoft Windows 9x Series (Windows 95 Windows 98 เป็นต้น)
  • Agnix

ไมโครเคอร์เนล (Microkernel)

รูปภาพแสดงหลักการทำงานของไมโครเคอร์เนล

ไมโครเคอร์เนล เป็นเคอร์เนลที่แบ่งการทำงานในแต่ละภาคส่วนออกจากกัน ตัวอย่างเช่น แบ่งส่วนของซอฟต์แวร์ประยุกต์ ส่วนของอุปกรณ์ ส่วนจัดการไฟล์ ฯลฯ ในทางทฤษฎีไมโครเคอร์เนลมีความเสถียรสูงเนื่องจากแบ่งการทำงานทุกภาคส่วนออกจากกัน แต่มีข้อเสียคือเรียกประสิทธิภาพของระบบออกมาได้ไม่เต็มที่

ตัวอย่างของไมโครเคอร์เนล และ ระบบปฏิบัติการที่มีพื้นบน ไมโครเคอร์เนล:

  • AIX
  • AmigaOS
  • Amoeba
  • Chorus microkernel
  • EROS
  • Haiku
  • K42
  • LSE/OS
  • KeyKOS
  • The L4 microkernel family
  • Mach, used in GNU Hurd, NEXTSTEP, OPENSTEP, and Mac OS X
  • MERT
  • Minix
  • MorphOS
  • NewOS
  • QNX
  • Phoenix-RTOS
  • RadiOS
  • Spring operating system
  • VSTa
  • Symbian OS

เคอร์เนลแบบผสม (Hybrid kernel)

เคอร์เนลแบบผสม เป็นเคอร์เนลที่รวมความสามารถของไมโครเคอร์เนลและโมโนลิทิกเคอร์เนลเข้าด้วยกันเพื่อเลียนแบบประสิทธิภาพและเสถียรภาพของโมโนลิทิกเคอร์เนลและไมโครเคอร์เนล

อ้างอิง

  1. "ศัพท์บัญญัติ ๔๐ สาขาวิชา สำนักงานราชบัณฑิตยสภา".{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน