Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ใจกลาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต เพิ่ม: be:Ядро аперацыйнай сістэмы
บรรทัด 69: บรรทัด 69:
[[ast:Nucleu (informática)]]
[[ast:Nucleu (informática)]]
[[az:Nüvə (kompyuter)]]
[[az:Nüvə (kompyuter)]]
[[be:Ядро аперацыйнай сістэмы]]
[[bn:কার্নেল (কম্পিউটার বিজ্ঞান)]]
[[bn:কার্নেল (কম্পিউটার বিজ্ঞান)]]
[[bs:Kernel]]
[[bs:Kernel]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:52, 19 สิงหาคม 2555

เคอร์เนลเชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์

เคอร์เนล[1] (kernel อ่านว่า เคอร์เนิล เนื่องจากตัว e ไม่ออกเสียง) หมายถึง ส่วนประกอบหลักของระบบปฏิบัติการ ซึ่งคอยดูแลบริหารทรัพยากรของระบบ และติดต่อกับฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ เนื่องจากว่าเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของระบบปฏิบัติการ เคอร์เนล นั้นเป็นฐานล่างสุดในการติดต่อกับทรัพยากรต่างๆ เช่น หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง และ อุปกรณ์อินพุตและเอาต์พุต

ประเภทรูปแบบ เคอร์เนล

รูปภาพแสดงหลักการทำงานของโมโนลิทริค เคอร์เนล

โมโนลิทริค เคอร์เนล (Monolithic kernel)

โมโนลิทริค เคอร์เนลมีอยู่ใน:

ไมโครเคอร์เนล (Microkernel)

รูปภาพแสดงหลักการทำงานของไมโครเคอร์เนล

ตัวอย่างของไมโครเคอร์เนล และ ระบบปฏิบัติการที่มีพื้นบน ไมโครเคอร์เนล:

  • AIX
  • AmigaOS
  • Amoeba
  • Android OS
  • Chorus microkernel
  • EROS
  • Haiku
  • K42
  • LSE/OS
  • KeyKOS
  • The L4 microkernel family
  • Mach, used in GNU Hurd, NEXTSTEP, OPENSTEP, and Mac OS X
  • MERT
  • Minix
  • MorphOS
  • NewOS
  • QNX
  • Phoenix-RTOS
  • RadiOS
  • Spring operating system
  • VSTa
  • Symbian OS

เคอร์เนลแบบผสม (Hybrid kernel)

อ้างอิง

  1. สะกด kernel ว่า เคอร์เนล ตามศัพท์บัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน