Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
ข้ามไปเนื้อหา

โฮฮอต

พิกัด: 40°50′31″N 111°44′56″E / 40.842°N 111.749°E / 40.842; 111.749
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก ฮูฮอต)

40°50′31″N 111°44′56″E / 40.842°N 111.749°E / 40.842; 111.749

โฮฮอต

呼和浩特ᠬᠥᠬᠡᠬᠣᠲᠠ ()

ฮูเหอเฮ่าเท่อ, กุยสุย
สถานที่ต่าง ๆ ในนครโฮฮอต
สถานที่ต่าง ๆ ในนครโฮฮอต
แผนที่
ที่ตั้งของนครโฮฮอตในเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน
ที่ตั้งของนครโฮฮอตในเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน
โฮฮอตตั้งอยู่ในมองโกเลียใน
โฮฮอต
โฮฮอต
ที่ตั้งของใจกลางเมืองในเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน
โฮฮอตตั้งอยู่ในประเทศจีน
โฮฮอต
โฮฮอต
โฮฮอต (ประเทศจีน)
พิกัด (สวนกงจู่ฝู่ (公主府公园)): 40°50′05″N 111°39′23″E / 40.8346°N 111.6565°E / 40.8346; 111.6565
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน
เขตการปกครอง
ระดับอำเภอ
10
เขตการปกครอง
ระดับตำบล
116
ก่อตั้ง1580
ศูนย์กลางการปกครองเขตซินเฉิง (新城区)
การปกครอง
 • เลขาธิการพรรคหวาง ลี่เสีย (王莉霞)
 • นายกเทศมนตรีเฝิง ยฺวี่เจิน (冯玉臻)
พื้นที่
 • นครระดับจังหวัด17,186.1 ตร.กม. (6,635.6 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง (2017)[1]265.05 ตร.กม. (102.34 ตร.ไมล์)
 • เขตทั้งสี่[1]2,054.0 ตร.กม. (793.1 ตร.ไมล์)
ความสูง1,065 เมตร (3,494 ฟุต)
ประชากร
 (ประมาณการปี 2012)[2]
 • นครระดับจังหวัด2,866,615 คน
 • ความหนาแน่น170 คน/ตร.กม. (430 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง (2017)[1]2,049,800 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง7,700 คน/ตร.กม. (20,000 คน/ตร.ไมล์)
 • องค์ประกอบทางชาติพันธุ์
เขตเวลาUTC+08:00 (เวลามาตรฐานจีน)
รหัสไปรษณีย์010000
รหัสพื้นที่471
รหัส ISO 3166CN-NM-01
ทะเบียนพาหนะ蒙A
GDP (2015)[2]CNY 309.05 พันล้าน
(US $49.62 พันล้าน)[3]
GDP ต่อหัวCNY 101,492
(US $16,295)
ภาษาถิ่นภาษาจีนจิ้น (สำเนียงจางเจียโข่ว-โฮฮอต); ภาษามองโกเลียใต้
รหัสเขตการปกครอง150100
เว็บไซต์www.huhhot.gov.cn
โฮฮอต
โฮฮอตเขียนด้วยอักษรมองโกเลีย
ชื่อจีนของโฮฮอต: ฮูเหอเฮ่าเท่อ
ชื่อภาษาจีน
ภาษาจีน呼和浩特
ฮั่นยฺหวี่พินอินHūhéhàotè
ความหมายตามตัวอักษร"นครสีน้ำเงิน" (ในภาษามองโกเลีย)
ฮูชื่อ (ชื่อย่อของ ฮูเหอเฮ่าเท่อชื่อ)
ภาษาจีน
ฮั่นยฺหวี่พินอินHūshì
ความหมายตามตัวอักษรนครฮู[ฮอต]
กุยซุย
อักษรจีนตัวเต็ม歸綏
อักษรจีนตัวย่อ归绥
ฮั่นยฺหวี่พินอินจีนกลางมาตรฐาน PRC: Guīsuí
จีนกลางมาตรฐาน ROC: Guīsuī
ชื่อภาษามองโกเลีย
อักษรซิริลลิกมองโกเลียХөх хот
อักษรมองโกเลีย ᠬᠥᠬᠡᠬᠣᠲᠠ
ชื่อภาษารัสเซีย
ภาษารัสเซียХух-Хото
อักษรโรมันChuch-Choto

โฮฮอต[4] (มองโกเลีย: ᠬᠥᠬᠡᠬᠣᠲᠠ Kökeqota, Хөх хот, Khökh khot, IPA: /xɵxˈxɔtʰ/) หรือสำเนียงจีนกลางว่า ฮูเหอเฮ่าเท่อ (จีน: 呼和浩特; พินอิน: Hūhéhàotè;) มีชื่อย่อว่า ฮูชื่อ (จีน: 呼市; พินอิน: Hūshì) มีชื่อเดิมว่า กุยสุย (จีนตัวย่อ: 归绥; จีนตัวเต็ม: 歸綏; พินอิน: Guīsuí,) เป็นเมืองหลวงของเขตปกครองตนเองมองโกเลียใน[5] ซึ่งเป็นที่ตั้งของการปกครองส่วนภูมิภาค เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม[6]

ผู้ค้นพบเมืองนี้คืออัลตัน (Altan) ขุนนางผู้เป็นใหญ่ในมองโกเลีย เปอร์เซีย อัฟกานิสถาน ในปี 1580 และในปี 1954 ชาวจีนเรียกเมืองนี้ว่ากุยสุย (歸綏) ซึ่งเป็นชื่อย่อที่ผสมขึ้นมากจากอักษรต้นของชื่อเต็มของ 2 เขตของเมืองนี้ซึ่งตั้งในส่วนศูนย์กลางทางใต้ของมองโกเลียในโดยราชวงศ์ชิง มีภูเขาทางทิศเหนือและที่ราบสูงเหอเท่า (河套) ทางใต้ ที่นี่เป็นที่นิยมสำหรับนักท่องเที่ยวในช่วงฤดูร้อน โดยมักใช้เป็นสถานที่เพื่อหนีร้อน

ชื่อเมืองโฮฮอตเป็นภาษามองโกเลีย มาจากคำว่า คค (хөх) แปลว่า "สีฟ้า" และ ค็อท (хот) แปลว่า "เมือง" จึงแปลว่า "เมืองสีฟ้า"

ภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 Ministry of Housing and Urban-Rural Development, บ.ก. (2019). China Urban Construction Statistical Yearbook 2017. Beijing: China Statistics Press. p. 48. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-18. สืบค้นเมื่อ 11 January 2020.
  2. 2.0 2.1 "Archived copy" 城市概况 (ภาษาจีนตัวย่อ). City of Hohhot. April 12, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 October 2017. สืบค้นเมื่อ 3 March 2015.{{cite news}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  3. 呼和浩特市2012年国民经济和社会发展统计公报. Hohhot Municipal Bureau of Statistics (ภาษาจีน). 1 April 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-24. สืบค้นเมื่อ 17 July 2015.
  4. "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  5. "Illuminating China's Provinces, Municipalities and Autonomous Regions". PRC Central Government Official Website. 2001. สืบค้นเมื่อ 2014-05-28.
  6. The New Encyclopædia Britannica, 15th Edition (1977), Vol. I, p. 275.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]