ประเมินอันตรายร้ายแรงถังSPG
ประเมินอันตรายร้ายแรงถังSPG
ประเมินอันตรายร้ายแรงถังSPG
บทท ี่ 5
การป ระเ มิ นอ ัน ตร าย ร้ ายแ รง
5.1 บท นำา
ความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายร้ายแรงในกระบวนการแยกก๊าซทำาความเย็นแต่ละชนิดออกจาก
ก๊าซแอลพีจี ของบริษัท สยามเพียวแกส จำากัด อาจก่อให้เกิดอุบัติภัยจากการรั่วไหลของก๊าซและเกิด
ไฟไหม้ หรือการระเบิดได้ตลอดเวลา การประเมินความเสี่ยงเป็นกระบวนการวิเคราะห์ถึงปัจจัย หรือ
สภาพการณ์ต่างๆ ที่เป็นสาเหตุอันตรายที่มีอยู่และแอบแฝงอยู่ โดยพิจารณาถึงโอกาสและความ
รุนแรงของเหตุการณ์ทจี่ ะเกิดขึ้น
การประเมินอันตรายร้ายแรงของโครงการจะแบ่งประเด็นการพิจารณาออกเป็น 2 ประเด็น
ใหญ่ๆ ตามแนวทางทีธ่ นาคารโลกกำาหนดไว้ (World Bank Technica, 1990) คือ การจำาแนก
อันตรายร้ายแรง (Hazard Identification) และการวิเคราะห์อันตรายร้ายแรง (Quantitative Analysis)
5.3 การจ ำา แน กอ ั นต รา ยร ้า ยแร งจา กโค รงก าร (ha zar d I de nt ifi ca ti on)
บริษัทที่ปรึกษาพิจารณาการเก็บกักโดยลำาดับศักยภาพทีจ่ ะก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงตาม
ปริมาณการกักเก็บและชนิดของสาร แสดงในตารางที่ 5.3-2
ตา รา งที่ 5. 3-2
ตำา แห น่ งที่ มี แน วโ น้ มที่จ ะเก ิด ผล กร ะทบสู งสุด เมื ่อ มี กา รร ั่ว ไห ลแ ละ อั นต รา ย
การจำาแนกอันตรายร้ายแรงจากรายละเอียดของโครงการ สามารถพิจารณาได้จากผังบริเวณ
ของโครงการ (plot plan) และข้อมูลการเกิดอันตรายร้ายแรงในอดีตของโครงการและโรงงานที่มี
ลักษณะใกล้เคียงกันทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อนำามาเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาจัด
ลำาดับความสำาคัญของอันตรายร้ายแรง นอกจากนั้นยังสามารถพิจารณาโดยดูรายละเอียดในส่วนประ
กอบอื่นๆ คือ
ปัจจัยการติดไฟได้ยากเมื่อเทียบกับก๊าซแอลพีจีที่อยู่ในกระบวนการแยกซึ่งส่วนใหญ่ควบคุมอุณหภูมิ
ลดตำ่าเพื่อแยกก๊าซจึงทำาให้เกิดการติดไฟน้อยกว่า
จากหลักเกณฑ์การพิจารณาดังกล่าวเมื่อนำามาจำาแนกความเสี่ยงตามการจัดแบ่งพื้นที่พบว่า
ลานถังเก็บกักวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ (TANK FARM AREA) เป็นพื้นที่วางถังกักเก็บก๊าซแอลพีจีและ
ผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วยถังกักเก็บเดิมจำานวน 9 ใบ มีองค์ประกอบของสารอันตราย ปริมาณของสาร
ที่มีศักยภาพของอันตราย และเหตุชักนำาที่จะทำาให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายร้ายแรง
เนื่องจากองค์ประกอบของก๊าซแอลพีจีมีส่วนประกอบของก๊าซโพรเพนสูงสุดถึงร้อยละ 66 ดัง
นั้นลักษณะการรั่วไหลหรือการติดไฟ คลอดจนปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นจึงมีความ
สอดคล้องกับคุณสมบัติเฉพาะของก๊าซโพรเพนมากที่สุด กระบวนการศึกษาวิเคราะห์และจำาแนกลักษ
ระอันตรายร้ายแรงสำาหรับโครงการนี้จึงได้อ้างอิงแนวทางการศึกษาที่เสนอแนะโดย US.EPA และ
World Bank Guideline มาใช้พิจารณาดังนี้
- มีกรณีศึกษาความรุนแรงสูงสุดคือมีการขัดข้องทำาให้เกิดการแตกทำาลายหรือรัว่ ไหล
ของท่อที่เชื่อมจากถังเก็บก๊าซแอลพีจี
- การจำาแนกแบบของการรั่วไหลของก๊าซแอลพีจีเนื่องจากการล้นออก ซึ่งอาจเกิดจาก
ความบกพร่องทัง้ ระบบป้องกันทางกายภาพ ระบบเตือนภัยไม่ทำางาน และพนักงานผู้ควบคุม
บกพร่อง เช่น มีการขนถ่ายผลิตภัณฑ์ลงถังเก็บกัก พนักงานเปิดวาล์ว และปั๊มผลิตภัณฑ์ลงถังเก็บ
กัก โดยถังเก็บกักมีระบบความปลอดภัย 2 ส่วน คือ มีอุปกรณ์วัดระดับผลิตภัณฑ์ในถัง เมื่อถึงระดับ
อันตรายจะมีสัญญาณเตือน อีกระบบหนึ่งเมื่ออุปกรณ์วัดระดับผลิตภัณฑ์ในถังถึงระดับอันตรายจะส่ง
มีการขนถ่ายก๊าซแอลพีจีจากรถขนส่งเข้าถังเก็บหรือการ
ถ่ายเทก๊าซแอลพีจีเพื่อนำาไปเข้ากระบวนการผลิต
ขัดข้อง
ปั๊มยังทำางาน
พนักงาน
ระบบส่ง ปกติ ปั๊มหยุด
ปิดปั๊ม
สัญญาณ ทำางาน
ขัดข้องและเกิดการรั่วไหลของก๊าซ
ไม่อยู่ประจำาที่
อั นต รา ยร ้า ย
- การที่ถังเก็บแตกหรือถูกทำาลายหรือเกิดการรั่วไหล ทำาให้ก๊าซแอลพีจีที่บรรจุไว้ถูก
ปล่อยออกสู่ภายนอกโดยพิจารณาผลกระทบพิจารณาจากผลของก๊าซแอลพีจีว่าติดไฟหรือไม่ ระเบิด
หรือไม่
ตา รา งที่ 5. 4-1
คว าม ถี ่ข องก าร เก ิด รู รั่ วข นาด ต่ าง ๆ บนท ่อส่ง ก๊ าซ
ตา รา งที่ 5. 4-2
ลักษณ ะอั นต รา ยจ าก กา รเ กิ ดร ูร ั่ วข นา ดต ่า งๆ บ นท่ อส่ง ก๊า ซ
เหต ุก าร ณ์ ลักษณ ะ
Fire ball การรั่วไหลของก๊าซ จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วมากในช่วงแรก จากนั้นจะลดลง
อย่างรวดเร็วและหากมีการจุดระเบิด เนื่องจากการเกิดไฟฟ้าสถิตย์หรือการ
เกิดประกายไฟ จะทำ าให้เกิด fire ball และอาจตามดัวย Jet fire อันตรายของ
fire ball ส่วนใหญ่จะเกิดจากปริมาณการแผ่รังสีความร้อน ที่เพิ่มมากขึ้นอย่าง
มหาศาลในเวลาอันรวดเร็ว แต่เนื่องจาก fire ball จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วใน
ช่วงเวลาสั้นๆ ในขณะที่ Jet fire จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะเวลานาน
ดังนั้น เมื่อเกิดรอยแตกขึ้นแล้ว ความเสียหายที่เกิดจาก Jet fire จะมีความ
รุนแรงมากกว่าความเสียหายที่เกิดจาก fire ball
Jet fire Jet fire เกิดจากก๊าซที่รั่วไหลออกจากท่อส่งก๊าซ แล้วเกิดการจุดระเบิดใน
ทันที และเกิดการลุกไหม้ในลักษณะคล้ายคบเพลิง (blow torch) ทั้งนี้เปลวไฟ
ทีเ่ กิดขึ้น จะครอบคลุมระยะทางเท่าไรนั้น ขึ้นอยู่กับขนาดของรูรั่ว และความ
ดันในเส้นท่อความร้อนที่แผ่กระจายออกมาจากเปลวไฟของ Jet fire จะขึ้นอยู่
กับประเภทของก๊าซที่รั่วออกมา โดยทั่วไปอุณหภูมิของเปลวไฟจะอยู่ในช่วง
1,600 - 2,000 องศาเซลเซียสทั้งนี้เนื่องจาก jet fire มีปริมาณความร้อนสูง
(high heat flux) ดังนั้นจึงทำ าให้เกิดความเสียหายต่ออุปกรณ์ หรือโครงสร้าง
ใดๆ ทีส่ ัมผัสกับเปลวไฟโดยตรง
Flash fire ภายหลังจากที่ก๊าซเกิดการรั่วไหล กลุ่มหมอกก๊าซจะแพร่กระจายไปตาม
ทิศทางลม ซึ่งถูกทำ าให้เจือจางลงโดยอากาศที่เข้ามารวมกับกลุ่มหมอกก๊าซนี้
ทัง้ นี้การแพร่จะขึ้นอยู่กับคุณสมบัติทางกายภาพของก๊าซ ลักษณะและสภาพ
ของการรั่วไหล และสภาพภูมิอากาศ Flash fire เกิดจากการที่กลุ่มหมอก
ก๊าซเหล่านั้นเกิดการจุดระเบิดขึ้นอย่างฉับพลัน (instantaneous) ดังนั้นผู้ที่อยู่
ในบริเวณดังกล่าวจึงไม่สามารถหลบหนีได้ทัน จึงอาจส่งผลให้มีอัตราการสูญ
เสียชีวิตสูง แต่เนื่องจาก flash fire เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน และความเข้มของ
รังสีความร้อนไม่สูงมากนัก ทำ าให้ผู้ที่อยู่บริเวณรอบนอกของกลุ่มหมอกก๊าซที่
ติดไฟนั้น ไม่ได้รับอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต นอกจากนี้ เหตุการณ์ดังกล่าวไม่น่า
จะก่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงต่อทรัพย์สิน นอกเสียจากว่าจะเกิดเพลิง
ไหม้อย่างต่อเนื่องจากวัตถุที่ติดไฟในขณะทีเ่ กิดการลุกไหม้
ซึ่งหลังจากที่ได้ผลสรุปจากการวิเคราะห์สถานการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้แล้ว ก็จะนำาเหตุการณ์ดัง
กล่าวไปประเมินระดับอันตรายและวิเคราะห์ความเสียหายที่เกิดขึ้น โดยใช้สมการคำานวณทาง
คณิตศาสตร์ พร้อมกับเปรียบเทียบผลการศึกษาออกมาในเชิงตัวเลขรัศมีความเสียหาย และผลกระ
ทบที่เกิดขึ้นทั้งกับชีวิตและทรัพย์สินที่อยู่ในบริเวณโดยรอบเหตุการณ์จำาลองนั้น รวมทั้งนำาผลการ
ศึกษาดังกล่าวไปกำาหนดมาตรการป้องกัน แก้ไขและลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม รายละเอียดวิธีการ
ศึกษาและการวิเคราะห์สถานการณ์จำาลองอันตรายร้ายแรง
ดังนั้นสัดส่วนโมลของโพรเพน = {(250/44.09)/[(250/44.09)+(166.67/58.12)]}
สัดส่วนโมลของโพรเพน = 0.66
สัดส่วนโมลของบิวเทน = 0.34
the partial vapor pressure ของโพรเพน = 0.66 x 174.8
VPm = 115.37 psig @ 37.78oc
และ the partial vapor pressure ของบิวเทน = 0.34 x 58.8
VPm = 19.99 psig @ 37.78oc
หาค่า A ซึ่งเป็นพื้นที่ผิวของ pool formed ของทั้งสองก๊าซได้ดังนี้
A = QS × DF
โดยที่: A = Maximum area of pool (square feet) for depth of one
centimeter
QS = Quantity released (pounds)
DF = Density Factor
โพรเพน A
= 416.67 x 0.83 x 2.2
= 760.85 ตร.ฟุต
บิวเทน A = 416.67 x 0.81 x 2.2
= 742.50 ตร.ฟุต
จากสมการ B-7 Risk management program guidance for offsite consequence
analysis เพื่อหาอัตราการระเหยของก๊าซแอลพีจีได้ว่า
1) การติดไฟของก๊าซที่ขนส่งภายใต้ความดันในเส้นท่อ เมื่อเกิดการรั่วไหลใน
ลักษณะของแรงดัน หรือที่เรียกว่า “blows” จะออกสู่บรรยากาศในทิศทางของแนวรั่วนั้นๆ และเมื่อ
เกิดการติดไฟทันทีจะมีลักษณะแบบ jet fire เผาไหม้ในเวลาที่รวดเร็ว ไม่มีการสะสมของก๊าซ จึงใช้
ระยะเวลาการรั่วไหล 1 วินาที
เมื่อก๊าซเกิดรั่วไหลด้วยความดันภายในท่อ ลักษณะรูปทรงของการเคลื่อนที่และ
การขยายตัวของก๊าซจากตำาแหน่งที่รั่วจะขึ้นอยู่กับแรงดันภายในท่อ ซึ่งจะเกิดรูปทรงลักษณะวงรี
(ellipse) ในทิศทางตรงกันข้ามกับศูนย์กลางของรูที่รั่วไหลและเฉียงขึ้นสู่บรรยากาศ โดยอาจเกิดการ
ติดไฟทัง้ ลักษณะของ fire ball หรือ jet fire จะมีรูปทรงคล้ายกับการขยายตัวของก๊าซด้วย
การประเมินผลกระทบที่เกิดจากเพลิงไหม้จะพิจารณาจากระดับพลังงานความร้อน
ต่างๆในช่วง 4.0-37.5 kW/m2 และนำาค่าที่ได้มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์กำาหนดของผลกระทบต่อ
อุปกรณ์และบุคคลในระดับพลังงานต่างๆ ดังตารางที่ 5.4.1-1
ตา รา งที่ 5. 4.1 -1
ผล กร ะทบจ าก ระ ดั บพ ลังง าน คว ามร ้อ นท ี่ม ีต่ อทร ัพ ย์สิ นแ ละ มน ุษ ย์
ระดับพลังงาน ประเภทของความเสียหาย
2
ความร้อน (kW/m ) ผลกระทบต่ออุปกรณ์ทรัพย์สิน ผลกระทบต่อมนุษย์
37.5 - ทำาลายอุปกรณ์ในกระบวนการผลิต - 100% เสียชีวิตภายใน 1 นาที และ
1% เสียชีวิตภายใน 10 วินาที
25.0 - ระดับพลังงานตำ่าสุดที่ไม้ติดไฟโดยไม่ - 100% เสียชีวิตภายใน 1 นาที และ
มีเปลวไฟ บาดเจ็บสาหัสภายใน 10 วินาที
12.5 - ระดับพลังงานตำ่าสุดที่ไม้ติดไฟด้วย - 1% เสียชีวิตภายใน 1 นาที และ
เปลวไฟและท่อพลาสติกละลาย ผิวหนังไม้ภายใน 10 วินาที
4.0 - - รู้สึกแสบผิวหนังถ้าอยู่นานกว่า 20
วินาที แต่ไม่ทำาให้พุพอง
ทั้งนี้ ระดับความรุนแรงและผลกระทบที่เกิดขึ้นจะแตกต่างกันตามลักษณะของการติดไฟ
และขนาดรูรั่วหรือปริมาณที่รั่วไหลของก๊าซแอลพีจี และผลการวิเคราะห์เหตุการณ์ของการเกิด fire
ball และ jet fire สามารถประเมินระดับผลกระทบได้ดังนี้
AIR SAVE CO ., L TD 4881/EIA/CH5_SPG
โค รงการโ รงงา นผลิตสารทำาความเย็นคุณภา พสู ง บริษั ท ส ยามเพียวแกส จำากัด
จากสมการคำานวณความเร็วของการสันดาปสารติดไฟประเภทก๊าซแอลพีจี พบว่า
4(3.14)(37.5x 103)
I = Xg Qp
4πr2
และ Qp = ױQHc , = 0.35 ױ
AIR SAVE CO ., L TD 4881/EIA/CH5_SPG
โค รงการโ รงงา นผลิตสารทำาความเย็นคุณภา พสู ง บริษั ท ส ยามเพียวแกส จำากัด
โดยที่ Xg = 0.2
Q = 0.11 กิโลกรัม/วินาที
Hc = Heat of combustion = 10.33 x 106 Joules per kilogram
I = ระดับพลังงานความร้อน 37.5, 25.0, 12.5 และ 4.0 kW/m2
L = ระยะทางการแผ่รังสีความร้อนของ jet fire (meters)
หากกำาหนดให้เกิดการรั่วไหลของก๊าซแอลพีจีไปในบริเวณที่ไม่มีผลกระทบในแนวเฉียงสู่
อากาศ ผลการประเมินระยะทางความยาวของเปลวจากจุดศูนย์กลางไฟ กรณีเกิด jet fire ที่ระดับ
พลังงานความร้อน 37.5, 25.0, 12.5 และ 4.0 kW/m2 ดังตารางที่ 5.4.1-3 และรูปรัศมีความร้อนดัง
รูปที่ 5.4.1-2
จากการวิเคราะห์และประเมินผลของอุบัติภัยที่เกิดขึ้น0ะเห็นว่าเหตุการณ์แรกที่เป็นต้นเหตุ
ของการเกิดเพลิงไหม้ การระเบิด คือการรั่วไหลของก๊าซแอลพีจีที่มีลักษณะสมบัติของความไวไฟ
ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยา ดังนั้นมาตรการการป้องกันที่สำาคัญคือ ป้องกันไม่ให้เกิดการรั่วไหล
ของก๊าซแอลพีจี นอกเหนือจากการออกแบบกระบวนการผลิต เครื่องจักรอุปกรณ์ ให้ปลอดภัยและ
ป้องกันการรั่วไหลแล้ว มาตราการความปลอดภัยทีจ่ ะช่วยเสริมให้เกิดประสิทธิภาพในการป้องกัน
มาตรการควบคุมและลดหรือบรรเทาอุบัติภัยที่เกิดขึ้น มาตรการป้องกันการเกิดอุบัติภัย จะ
ครอบคลุมถึงเรื่อง
• การออกแบบ การสร้าง และการติดตั้ง เครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ ตลอดจนการ
ใช้วัสดุที่ได้มาตรฐาน
• ระบบความปลอดภัย
• การทำางานหรือการปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง
• การซ่อมบำารุงเครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือ
• การทดสอบ ตรวจสอบ เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือ
• การควบคุมการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น กระบวนการผลิต วัตถุดิบ เครื่องจักร
• การฝึกอบรม (Training)
• การตรวจประเมินความปลอดภัย (Safety Audits)
• การปฏิบัติตามข้อกำาหนด (Code of Practices)
สำาหรับมาตรการควบคุมและลดหรือบรรเทาอุบัติภัยที่เกิดขึ้น จะครอบคลุมถึงเรื่อง
• ระบบการเตือนภัย
• ระบบการตรวจวัด
• ระบบและอุปกรณ์ความปลอดภัยสำาหรับปฏิบัติการฉุกเฉิน เช่น ระบบการดับเพลิง
ชุดป้องกันอันตรายจากก๊าซแอลพีจี
• หน่วยปฏิบัติการฉุกเฉิน เช่น การดับเพลิง การระงับเหตุรั่วไหลของก๊าซแอลพีจี
• แผนปฏิบัติการฉุกเฉิน และการฝึกซ้อม
• เครื่องมือและอุปกรณ์ความปลอดภัย
• ระเบียบปฏิบัติสำาหรับการซ่อมบำารุง
• ระเบียบปฏิบัติสำาหรับการทดสอบและการตรวจสอบ
• ระเบียบปฏิบัติสำาหรับการควบคุมในการเปลี่ยนแปลง (Change Control)
5. การฝึกอบรม
6. การวางแผนฉุกเฉิน (Emergency Response Planning)
7. การสอบสวนอุบัติเหตุ
8. การตรวจสอบความปลอดภัย (Safety Audits)
สิ่งที่ต้องให้ความสำาคัญคู่กับการควบคุมทางวิศวกรรมในการออกแบบ เพื่อเป็นการป้องกันเสริมกรณี
การออกแบบผิดพลาดหรือเกิดข้อบกพร่องจากการใช้งาน เช่น ระบบหยุดการทำางานฉุกเฉินระบบ
เตือนภัย วาล์วนิรภัย เป็นต้น
ถ้าคนไม่ปฏิบัติตามระเบียบการปฏิบัติงานอาจจะเกิดจากความไม่รู้ จึงจำาเป็นที่จะต้องให้ผู้ปฏิบัติงาน
ทุกคนรู้ เข้าใจ ถึงการปฏิบัติงานอย่างความปลอดภัยการฝึกอบรม จึงเป็นกิจกรรมในการคบริหาร
ความเสี่ยงที่สำาคัญ เพื่อให้บุคลากรในโรงงานได้รับการศึกษาให้มีความคุ้นเคยกับการทำางานและข้อ
ปฎิบัติด้านความปลอดภัย เช่น การฝึกอบรมพนักงานใหม่ เป็นการให้การศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับ
พนักงานใหม่ทุกคนก่อนที่จะเริ่มงาน การแนะนำาให้ข้อมูล และเดินชมโรงงานทั้งหมด การฝึกอบรม
ขณะปฎิบัติงาน (On-the-Job Training) เป็นการเรียนในห้องเรียน และการฝึกปฎิบัติจริงคู่กันไป
เป็นต้น ในการฝึกอบรมเพื่อให้แน่ใจว่าผู้เข้าฝึกอบรมมีความเข้าใจในเทคนิคการทำางานขั้นพื้นฐาน
และหลักการควบคุมกระบวนการทำางานต่าง ๆ จึงควรมีการประเมินผลทั้งด้านข้อเขียนและการสอบ
ปากเปล่าความรู้ด้านความปลอดภัย เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ผปู้ ฏิบัติงานต้องได้รับการฝึกอบรม นอกจาก
การ อบรมในห้องเรียน ต้องทำาการฝึกซ้อม และการฝึกปฎิบัติ เช่น การปฐมพยาบาล การแจ้งเหตุ
อันตราย การดับเพลิง การฝึกอบรมเพื่อฟื้นฟูความรู้เป็นสิ่งสำาคัญที่ต้องจัดให้กับพนักงาน หัวหน้า
งาน เจ้าหน้าที่ และผู้จัดการที่ปฎิบัติงานในโรงงาน บุคลากรทุกคนต้องได้รับเพื่อให้ทราบถึงการ
เปลี่ยนแปลงในเรื่องอุปกรณ์ ระบบ ข้อจำากัดในการจัดการกับสารเคมี ชนิดใหม่ หรือในเรื่องอื่น ๆ ที่
อาจมีผลต่อความปลอดภัย เพื่อลดความเสี่ยงในกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสารเคมีอันตรายลง และควร
จัดฟื้นฟูความรู้ให้พนักงานอย่างน้อยปีละครั้ง เพราะความชำานาญงานของผู้ปฎิบัติงานจะเริ่มเสื่อม
สภาพเมื่อเวลาผ่านไปเกินกว่า 1 ปี โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำาหรับกิจกรรมที่ไม่ได้กระทำาบ่อย ๆ
• การตอบโต้และการระงับเหตุขั้นต้น
• การแจ้งเหตุและการเตือนภัยให้องค์กรทราบ
• การจัดตั้งและการปฎิบัติงานของศูนย์บัญชาการ
• ระบบติดต่อสื่อสาร
• การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ
7) กา รสอ บสว นอ ุบ ัต ิเ หตุ (Acc id en t In ve st ig at io n)
การสอบสวนอุบัติเหตุเป็นการบริหารความเสี่ยงที่สำาคัญในการค้นหาความจริงถึง
สาเหตุ และปัจจัยที่ทำาให้เกิดอุบัติเหตุ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเรียนรู้ เพื่อชี้บ่งอันตรายและกำาหนด
มาตรการป้องกัน การสอบสวนอุบัติเหตุจะได้ผลสำาเร็จ ถ้ามิได้กระทำาเพื่อค้นหาตัวผู้กระทำาผิด การ
สอบสวนอุบัติเหตุเป็นการเรียนรู้จากความผิดพลาดของตนเอง คนงานจึงต้องความตระหนักในกา
รายงานความผิดพลาดหรือข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นวัตถุประสงค์ของการสอบสวนอุบัติเหตุคือ
• เพื่อค้นหาสาเหตุและผลกระทบที่เกิดขึ้น
• เพื่อหามาตรการหรือวิธีการไม่ให้เกิดเหตุขึ้นอีก
• เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดเหตุ
ในการสอบสวนอุบัติเหตุต้องกำาหนดตัวบุคคล ควรจัดทีมสอบสวนซึ่งประกอบด้วย
ฝ่ายบริหาร และหัวหน้างานในงานต่าง ๆ กัน เข้าร่วมรับผิดชอบทำาการสอบสวนทันทีให้เร็วทีส่ ุดเท่า
ทีจ่ ะทำาได้เพื่อจะได้เก็บรวบรวมหลักฐานและข้อมูลต่าง ๆ ได้ครบถ้วน สมบูรณ์ เชื่อถือได้ในการนำา
ไปสอบสวน มีการสัมภาษณ์ สอบถาม คนที่รับผิดชอบและผู้ที่เห็นหรืออยู่ในเหตุเหตุการณ์ ตรวจ
สอบข้อมูลทางเทคนิคต่าง ๆ และศึกษาเปรียบเทียบกับอุบัติเหตุคล้ายกันที่เคยเกิดขึ้นในอดีต ข้อมูล
ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับอุบัติเหตุควรจัดทำาเป็นเอกสารและเก็บรักษาไว้อย่างดี รายงานการสอบสวน
อุบัติเหตุต้องเก็บเป็นบันทึก เพราะในรายงานจะประกอบด้วยรายละเอียดการ ปฎิบัติงานของโรงงาน
ที่ผ่านมา และข้อมูลการสอบสวน ข้อสรุป ข้อแนะนำา และวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมรายงานการ
สอบสวนอุบัติเหตุจะสมบูรณ์เมื่อได้กระทำาการปรับปรุงแก้ไขทุกอย่างเสร็จเรียบร้อยหมดแล้ว