Papers by Thouchanok Sattayavinit
Humanities, Arts and Social Sciences Studies, 2023
In Vietnam, the governing of women’s wombs has undergone multiple transformations that are contin... more In Vietnam, the governing of women’s wombs has undergone multiple transformations that are contingent upon the particular disciplining power of the time. The technology of biopower is employed by the modern state to directly target and control human bodies as subjects of the state. It is centrally exercised over the human body, which disciplines and regulates them into social bodies. In the 19th century, the French colonial government advanced pronatalism as one of their main governing ideologies. Pronatalism encouraged women to procreate in order to increase the population (i.e. labor supply) at the same time that capitalism was beginning to emerge in the region. In opposition to this, the anti-colonial and socialist Vietnamese government disputed the colonial policy of pronatalism, instead encouraging family planning and birth control. This controversial ideology is significant in seeking to understand the tactics applied by the Democratic Republic of Vietnam against French colonial authorities and their stance on reproduction. Following this, communism would become the main ideology of Vietnam, further shifting the trajectory of governing reproduction, for instance in the case of the legalization of abortion. When the state is able to influence the population in these ways, women’s wombs become part of the nation-building process, in which the state apparatus is able to manipulate the population according to the “needs of the nation.” Consequently, women’s bodies become marked with traces of bodily and reproductive governance. Applying the genealogical method, this article will investigate the history of reproduction in Vietnam from the French colonial era to the arrival of socialism. Therefore, the article aims to reveal the disciplining power that governs women’s bodies as well as the power relations existent between them.
Burapha Journal of Political Economy (วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา), 2020
บทความวิจัยฉบับนี้มีเป้าหมายในการศึกษาการจัดสวัสดิการภาคเกษตรจากภาครัฐสู่ชาวนาของสองประเทศส่งออกข... more บทความวิจัยฉบับนี้มีเป้าหมายในการศึกษาการจัดสวัสดิการภาคเกษตรจากภาครัฐสู่ชาวนาของสองประเทศส่งออกข้าวส าคัญ คือ ไทยและเวียดนาม เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดสวัสดิการกับระบอบการปกครอง โดยใช้วิธีการวิจัยส ารวจเอกสาร สัมภาษณ์เชิงลึก และการจัดเสวนากลุ่มในสองประเทศประกอบด้วยอ าเภอสนามชัยเขตและอ าเภอบางน ้าเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ส าหรับประเทศไทย เปรียบเทียบกับจังหวัดนามดิ่ญห์ (Nam Định) และ ฮ่านาม (Hà Nam) ส าหรับประเทศประเทศเวียดนาม ผลการศึกษาค้นพบว่าแม้ประเทศไทยจะมีระบอบการปกครองแบบผสมระหว่างประชาธิปไตยและอ านาจนิยม แตกต่างจากประเทศเวียดนามที่มีการปกครองแบบสังคมนิยม แต่ทั้งสองประเทศกลับมีสวัสดิการภาคเกษตรที่จัดให้กับชาวนาแบบเสรีนิยมเหมือนกันในสามด้านประกอบด้วยสวัสดิการภาคภาคเกษตรจะเน้นในเรื่องของการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน สวัสดิการสังคมสงเคราะห์ต่อชาวนายากจนให้เท่าที่เพียงพอจะสามารถแข่งขันในตลาดได้ และรูปแบบการคุ้มครองที่โยนภาระอยู่กับปัจเจกบุคคล มากกว่าจะเป็นการจัดสวัสดิการโดยรัฐเพื่อยกระดับมาตรฐานสังคมให้สูงขึ้น ท าให้ชาวนาของทั้งสองประเทศขาดความมั่นคงทางสังคมและสิทธิของพลเมือง
This research paper studied an agricultural welfare system allocated by public sectors to peasants of two major rice-exporting countries, Thailand and Vietnam. To demonstrate relationship between welfare and government regime, documentary research and focus groups were employed to collect information from both countries, including Sanam Chai Khet and Bang Nam Prieo districts, Chachoengsao, Thailand, and Nam Định and Hà Nam, Vietnam. The finding indicated that political regimes of Thailand and Vietnam are hybrid regime and Socialist state respectively. Both regimes, however, had liberal welfare system concentrating on three issues: competitiveness, social work policy to help peasants who were under privileged for only survival in the market system, and volunteering insurances based on individuals rather than state intervention to improve higher standard of social wellbeing. Consequently, Thai and Vietnamese peasants have become underclass who are defined by insecurity and losing citizenship rights.
Journal of Social Sciences Faculty of Social Sciences, Chiang Mai University, 2020
การศึกษาเรื่อง “แรงงานเสี่ยง” เป็นประเด็นสำคัญในการทำความเข้าในระบบทุนนิยมในศตวรรษที่ 21 ที่พยายา... more การศึกษาเรื่อง “แรงงานเสี่ยง” เป็นประเด็นสำคัญในการทำความเข้าในระบบทุนนิยมในศตวรรษที่ 21 ที่พยายามอธิบายการจ้างแรงงานนอกระบบในพื้นที่เมือง อย่างไรก็ดี งานวิจัยฉบับนี้พยายามอธิบายว่าในแรงงานภาคเกษตรสามารถใช้กรอบการวิเคราะห์แรงงานเสี่ยงได้เช่นเดียวกัน โดยใช้วิธีการศึกษาจากการสำรวจเอกสารและการลงพื้นที่วิจัยสนามพื้นที่เปรียบเทียบจังหวัดฉะเชิงเทรา สำหรับประเทศไทย และพื้นที่ฮานอย นามดิ่ญห์ และฮ่านาม บริเวณลุ่มแม่น้ำแดงในประเทศเวียดนาม ด้วยวิธีการสัมภาษณ์และเสวนากลุ่ม ค้นพบว่าเนื่องจากแรงงานในภาคเกษตรก็ต้องเผชิญกับสถานะแรงงานเสี่ยงเช่นเดียวกัน ทั้งในด้านของงานที่มีลักษณะชั่วคราว ไม่มีความแน่นอนในอาชีพ ขาดสวัสดิการทางสังคม และการทำงานไม่สามารถมองเห็นอนาคตในชีวิต ทำให้ชาวนาและเกษตรกรไทยและเวียดนามต่างอยู่ในสภาวะงานเสี่ยงและกลายเป็นแรงงานเสี่ยงในฐานะชนชั้นใหม่ของระบบเศรษฐกิจ
“Precariat” is a key concept to understand the 21st century of the capitalist system which explains informal employments in the urban area. This research, however, demonstrate that agricultural labour could be pointed out by the precariat. The data was collected by methods of documentary research, in-depth interviews, and focus group. The field research compared Chachoengsao Province (Thailand) and Hà Nam (the Red River Delta, Vietnam). Based on mode of work and social wellbeing, the finding showed that agricultural workers have confronted statute of precariats because their employment was informal works, insecure career path, lack of social security and welfare, and unforeseeable future. These circumstances have made Thai and Vietnamese peasants as agricultural workers turning to precarious works and becoming the precariat as the new class of economic system.
วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 2017
การศึกษาและทำความเข้าใจถึงตัวตน (self) และการปรับตัวของนิสิต นักศึกษาชาวต่างชาติในประเทศไทยถือเป็... more การศึกษาและทำความเข้าใจถึงตัวตน (self) และการปรับตัวของนิสิต นักศึกษาชาวต่างชาติในประเทศไทยถือเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของสถาบันการศึกษาของไทยสำหรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงตัวตนของนิสิตเวียดนามในมหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อแสดงให้เห็นถึงตัวตนและการปรับตัวของนิสิตเวียดนามที่เกิดขึ้นภายหลังจากการก้าวเข้าสู่บริบทสภาพแวดล้อม (environment) ใหม่อย่างมหาวิทยาลัยบูรพา ผ่านการใช้กรอบวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์(symbolic interaction)มาช่วยในการอธิบายตัวตนของนิสิตเวียดนามในมหาวิทยาลัยบรูพาที่เกิดขึ้นการศึกษาถึงตัวตนของนิสิตเวียดนามในมหาวิทยาลัยบูรพาพบว่า นิสิตเวียดนามมีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มนิสิตเวียดนามด้วยกันเอง ทำให้ตัวตนที่แสดงออกมาเกิดขึ้นใน 2 ลักษณะ ได้แก่ การแสดงออกถึงตัวตนของนิสิตเวียดนามภายในกลุ่มของตนเอง ซึ่งมีความแตกต่างจาก ถิ่นที่มาและค่านิยมความเชื่อเดิมของแต่ละคน แต่ด้วยสภาพแวดล้อมใหม่ทำให้นิสิต เวียดนามมีการรวมกลุ่มกันเป็นหนึ่งเดียวโดยอาศัย “ความเป็นชาตินิยม” เพื่อสร้างความช่วยเหลือและพึ่งพาระหว่างกัน ส่วนลักษณะที่สอง เป็นการแสดงออกถึงตัวตน ทางสังคม (social self) ที่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างนิสิตเวียดนามกับกล่มุคนอื่น ๆ โดยตัวตนทางสังคมที่แสดงออกมาของนิสิตเวียดนามอยู่บนพื้นฐานของความเป็นชาตินิยมและความเป็นพวกพ้องของตนผ่านระบบสัญลักษณ์ อย่างการแต่งกาย ภาษาและการรวมกล่มุการแสดงออกถึงตัวตนทางสังคม นิสิตเวียดนามปรับตัวตาม บริบทสภาพแวดล้อมและปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อผู้คนตามช่วงเวลาต่าง ๆ
Studying and understanding of self and adaptation of foreign students in Thailand is significant to develop and change Thailand’s education in ASEAN participation. Thus, this article aims to study about self of Vietnamese students in Burapha University, and self-expression and adaptation of Vietnamese students after they reached into the new environment in Burapha University. Both of purposes use the framework of symbolic interaction to explain the self of Vietnamese students in Burapha University. Besides, the article found that Vietnamese students had relationship in their particular group. It was appeared 2 groups of their selves; firstly, self-expression in Vietnamese students’ group in which difference of areas and taste of each person. Then, they moved to the new environment, so they combined to a unique group under “Nationalitiness” contribute and rely on each other. Secondly, self-expression of social self emerged from interaction between Vietnamese students and other groups. The expression of Vietnamese students’ selves base on nationalitiness and certain group through symbolic system such as clothing, language, and group’s combination. Finally, Vietnamese students adapted themselves following the environments, interaction to others, and times.
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงอัตลักษณ์ของนิสิตชาวเวียดนามที่ได้รับการอบรมบ่ม เพาะมา... more บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงอัตลักษณ์ของนิสิตชาวเวียดนามที่ได้รับการอบรมบ่ม เพาะมาที่ยังคงอยู่ และเพื่อศึกษาวิถีแนวทางการปรับตัวของนิสิตเวียดนามในการดำรงอยู่ บทความวิจัยมีขอบเขต การศึกษาในพื้นที่มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี โดยมีการเก็บรวบรวมข้อมูลทางเอกสารเเละการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ทั้งนิสิตชาวเวียดนาม อาจารย์และบุคลากรในมหาวิทยาลัย และวิเคราะห์ข้อมูลในเชิง ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล (Cause–Effect Relationship) เพื่อศึกษาอัตลักษณ์และการปรับตัวของนิสิต ชาวเวียดนาม จากการศึกษาพบว่า นิสิตเวียดนามที่ศึกษาในมหาวิทยาบูรพามีการดำรงอยู่ของอัตลักษณ์ ผ่านการบ่มเพาะจากสภาพเเวดล้อมทางสังคมเเละวัฒนธรรม ภายใต้ลักษณะของความเชื่อของลัทธิขงจื้อ ชาตินิยม เเละสังคมนิยมเวียดนาม อัตลักษณ์ดังกล่าว สะท้อนจากเบื้องหลังทางความคิด ทางกายภาพ เเละพฤติกรรม ของนิสิตชาวเวียดนาม ในด้านการปรับตัว การดำรงชีวิต วัฒนธรรม เเละ สังคมที่เเตกต่างในสังคมไทย ทั้งนี้การปรับตัวของนิสิตชาวเวียดนามเพื่อการเรียนรู้ เเละความอยู่รอดในสังคมไทย โดยนิสิตชาวเวียดนาม เป็นที่ยอมรับจากคนไทย
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตและบริบททางสังคมภายหลังช่วงการส... more การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตและบริบททางสังคมภายหลังช่วงการสร้างความเป็นชาติเวียดนามของโฮจิมินห์ (Ho Chi Minh) แก่ชาวเวียดนามในพื้นที่จังหวัดนครพนมตั้งแต่ ค.ศ. 1928-2015 โดยใช้วิธีวิทยาในการศึกษาเชิงเศรษฐศาสตร์การเมืองเพื่อวิเคราะห์ให้เห็นถึงสภาพการเปลี่ยนของสังคม และปฏิสัมพันธ์ทางสังคมระหว่างกลุ่มต่าง ๆ รวมถึงปัจจัยเชิงโครงสร้างที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนผ่านสังคมของชาวเวียดนามในพื้นที่จังหวัดนครพนม ซึ่งในปัจจุบันชาวไทยเชื้อสายเวียดนามในพื้นที่จังหวัดนครพนมยังคงรักษาไว้ซึ่งอัตลักษณ์ความเป็นเวียดนาม, วัฒนธรรม และประเพณีต่าง ๆ ไว้มากมาย อาทิ พิธีการแต่งงานของชาวไทยเชื้อสายเวียดนาม (lễ cưới) การแต่งชุดอ่าวส่าย (áo dài) หรือแม้แต่วัฒนธรรมการเคารพนับถือผู้ใหญ่ภายในบ้านหรือผู้ที่อายุมากกว่าภายใต้ความสัมพันธ์ทางสังคมแบบเครือญาติที่ปรากฏเด่นชัดในงานประเพณีสำคัญของชาวไทยเชื้อสายเวียดนามอย่างงานปี ใหม่เวียดนาม (Tết) และงานในคืนส่งท้ายปี เก่าต้อนรับปี ใหม่ (đón giao thừa) เป็นต้น ซึ่งการคงไว้ซึ่งความเป็นเวียดนามของชาวเวียดนามในพื้นที่จังหวัดนครพนมเป็นผลมาจากการเข้ามาสร้างความเป็นชาติของโฮจิมินห์ในพื้นที่จังหวัดนครพนมและจังหวัดอื่น ๆ ในตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยในช่วงระหว่างสงครามเวียดนาม-ฝรั่งเศสท่ามกลางพลวัตของสภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดนครพนมที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องไม่หยุดนิ่ง
วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง, 2014
The purpose of this study is to investigate the problem of the marginal people’s right about thei... more The purpose of this study is to investigate the problem of the marginal people’s right about their arable land. Hmong “Paklang” is a group of people who lives in a forest called “Paklang” that located in “Nan” province in the north of Thailand. This group of people is always lack of interest from people in the society. Recently, Hmong people have no right in their arable land because they are always oppressed by government and investor through law and policy. According to this case, the overlapping territorial claims area belong to the government legally under the notice of Doi Phuka-Phadaeng National Reserved Forest. In addition, there are various factors influencing the marginal people’s right such as economic, politic, society, and culture. Thus, every part of the society included the government should cooperate developing their quality of life and also their equality.
Research by Thouchanok Sattayavinit
ในงานวิจัยชิ้นนี้กล่าวถึงการศึกษาเวียดนามในประเทศไทย เเต่ทั้งนี้เป็นการวิจัยในเชิงประวัติศาสตร์ตั... more ในงานวิจัยชิ้นนี้กล่าวถึงการศึกษาเวียดนามในประเทศไทย เเต่ทั้งนี้เป็นการวิจัยในเชิงประวัติศาสตร์ตั้งเเต่ก่อนยุคโฮจิมินเข้ามาในเมืองไทยจนกระทั่งปัจจุบัน จุดเริ่มต้นในการศึกษาเกี่ยวกับเวียดนามในจังหวัดนครพนมเเละมีการปรับตัวของการศึกษาเกี่ยวกับเวียดนามในเเต่ละยุคสมัย
Short article by Thouchanok Sattayavinit
Book Reviews by Thouchanok Sattayavinit
Journal of Social Sciences Naresuan University (JSSNU), 2024
Julia Margaret Zulver เป็นนักสังคมวิทยาซึ่งทำงานในประเด็นเรื่องเพศ สตรีนิยม และนโยบายเกี่ยวกับปัญ... more Julia Margaret Zulver เป็นนักสังคมวิทยาซึ่งทำงานในประเด็นเรื่องเพศ สตรีนิยม และนโยบายเกี่ยวกับปัญหาเรื่องเพศในกรณีของประเทศเม็กซิโก โคลอมเบีย และเอลซัลวาดอร์ โดยปัจจุบันเป็นนักวิจัยของ Marie Sklodowska-Curie ในมหาวิทยาลัย Oxford และ Instituto de Investigaciones Jurídicas ในมหาวิทยาลัย Nacional Autónoma de México สำหรับงานเขียนนี้ที่ชื่อว่า “High-risk feminism in Colombia: Women's mobilization in violent contexts” เป็นส่วนหนึ่งของงานศึกษาระดับปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัย Oxford ของเธอในปี ค.ศ. 2018 ซึ่งฉายภาพการเคลื่อนไหวของผู้หญิงและองค์กรของผู้หญิงเพื่อเรียกร้องสิทธิความเป็นธรรมทางเพศท่ามกลางบริบทของสงครามความขัดแย้งระหว่างกลุ่มกองกำลังติดอาวุธในสามเมืองของประเทศโคลอมเบีย ได้แก่ เมือง Turbaco (Bolívar) เมือง Usme (Bogotá, DC) และเมือง Riohacha (la Guajira) โดยที่ลักษณะของบริบทความขัดแย้งดังกล่าวยังนำไปสู่ความเสี่ยงสูงต่อผู้หญิง เพราะผู้หญิงกลายเป็นเป้าหมายของความรุนแรงนอกเหนือจากความขัดแย้งระหว่างกองกำลัง เช่น การถูกสังหาร การข่มขืน การเกิดความรุนแรงทางเพศ และการข่มขู่ต่อครอบครัว ทั้งนี้ ความน่าสนใจของงานนี้ ไม่ใช่การตอบเพียงคำถามเกี่ยวกับสาเหตุของความรุนแรงจากและผลลัพธ์ต่อผู้หญิง เหมือนงานศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวทางสังคมโดยทั่วไปเท่านั้น แต่เป็นการชี้ให้เห็นถึงการตัดสินใจของผู้หญิงในการเข้าร่วมการเคลื่อนไหวกับองค์กรเพื่อสร้างสันติภาพท่ามกลางบริบทความขัดแย้ง บนฐานของเหตุผลที่ยึดโยงอยู่กับประสบการณ์ความรุนแรงทางเพศ และผลประโยชน์ของครอบครัวจากบทบาทความเป็นแม่และภรรยาของผู้หญิง รวมถึงการชี้ให้เห็นถึงวิธีการจัดการเรื่องอารมณ์ที่องค์กรเหล่านี้ใช้เพื่อปลุกระดม (mobilizing) สมาชิกให้เข้ามามีส่วนร่วมในการเคลื่อนไหว ซึ่งข้อเสนอของผู้เขียนเหล่านี้แตกต่างจากสมมติฐานของงานศึกษาในประเด็นขบวนการทางสังคมสายคลาสสิคที่ผ่านมา ส่วนใหญ่มองว่าหากมีความเสี่ยง ผู้คนจะไม่ตัดสินใจเลือกในการมีส่วนร่วมกับขบวนการสังคม (Olson, 1965) หรือกรณีตัดสินใจเลือกมีส่วนร่วมกับขบวนการสังคมท่ามกลางความเสี่ยง ถือเป็นการกระทำแบบไร้เหตุผล (Muller & Opp, 1986) รวมถึงมุมมองต่อเรื่องการใช้วิธีการจัดการเรื่องอารมณ์เพื่อการปลุกระดมการเคลื่อนไหวทางสังคมยังเป็นข้อเสนอที่ไปไกลกว่าคำอธิบายโดยทั่วไปเกี่ยวกับการสร้างอัตลักษณ์ร่วมของขบวนการทางสังคม
วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 2018
วารสารเศรษฐศาสตร์ การเมืองบูรพา ปีที่ 5 ฉบับที่1 , 2017
หนังสือFeminist Perspectives on Sociology ของผู้เขียนที่ชื่อว่า Barbara Littlewood เป็นหนังสือที่... more หนังสือFeminist Perspectives on Sociology ของผู้เขียนที่ชื่อว่า Barbara Littlewood เป็นหนังสือที่ได้นำเสนอถึง มุมมองเกี่ยวกับสตรีนิยม ภายใต้การศึกษาของ “สังคมวิทยา” (sociology) ซึ่งเป็นสาขาวิชาหนึ่งที่ให้ความสนใจ เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของสิ่งต่าง ๆ ในสังคมและการเปลี่ยนแปลงของสังคม โดยLittlewood ได้กล่าวถึงความสนใจของนักสังคมวิทยาที่มีต่อสตรีนั้นเกิดขึ้นจากการที่ นักสังคมวิทยาในช่วงยุคหลังสงคราม (postwar) เป็นต้นมา ให้ความสนใจต่อสิ่งที่ เกิดขึ้นภายในครอบครัว (family) มากขึ้น โดยเฉพาะการตั้งคำถามกับครอบครัวในฐานะที่เป็นส่วนสำคัญในการเกิดขึ้นของ เพศสภาวะ (sexuality), การเป็นแม่ (motherhood), ความรุนแรง (violence), และงานบ้าน/การเป็นลูกจ้าง (housework/ employment)ซึ่งเป็นสิ่งที่กล่มุสตรีนิยมมองว่าเป็นตัวการที่ส่งผลในด้านลบต่อผู้หญิงทกุคน
Books by Thouchanok Sattayavinit
ความ(ไม่)เป็นหญิง ความ(ไม่)เป็นชาย ความ(ไม่)เป็นคน, 2020
นโยบายด้านประชากรและการวางแผนครอบครัวของรัฐสังคมนิยมเวียดนามนับตั้งแต่ปี 1945 เป็นต้นมา แสดงให้เห... more นโยบายด้านประชากรและการวางแผนครอบครัวของรัฐสังคมนิยมเวียดนามนับตั้งแต่ปี 1945 เป็นต้นมา แสดงให้เห็นถึงบทบาทและการใช้อำนาจของรัฐในการปกครองและกำกับควบคุมประชาชน โดยเฉพาะการทำให้ร่างกาย เพศ อนามัยเจริญพันธุ์ และการทำแท้งถูกกฎหมายของผู้หญิงกลายเป็นส่วนหนึ่งในปริมณฑลทางการเมืองของนโยบายการวางแผนครอบครัวของรัฐ การกำกับควบคุมการวางแผนครอบครัวยังสอดรับกับจารีตนิยมเรื่องเพศ เช่น ความนิยมการมีลูกชาย การประณามการท้องก่อนแต่ง และการรักษาพรหมจรรย์ในผู้หญิง การทำแท้งในเวียดนามจึงมีความแตกต่างจากข้อถกเถียงเรื่องการทำแท้งในโลกตะวันตกที่ไม่สามารถอธิบายบริบทของการทำแท้งในเวียดนามได้ เนื่องจากข้อถกเถียงในตะวันตกกลับมองแต่เพียงทางเลือกเรื่องสิทธิของผู้หญิงและสิทธิของตัวอ่อนระหว่างกลุ่มสนับสนุนการทำแท้งและกลุ่มต่อต้านการทำแท้ง มากกว่าการพิจารณาถึงปฏิบัติการและการใช้อำนาจของรัฐ ดังนั้นบทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอ การทบทวนถึงการเมืองเรื่องอนามัยเจริญพันธุ์รวมถึงการทำแท้งในเวียดนาม โดยเฉพาะการวางแผนครอบครัวในช่วงรัฐบาลสังคมนิยมถึงปัจจุบันส่งผลต่อการกำกับควบคุมเรื่องอนามัยเจริญพันธุ์ เพศ และเพศวิถีของผู้หญิงอย่างไร และศึกษาความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างรัฐ ครอบครัว และผู้หญิง
Teaching Documents by Thouchanok Sattayavinit
Uploads
Papers by Thouchanok Sattayavinit
This research paper studied an agricultural welfare system allocated by public sectors to peasants of two major rice-exporting countries, Thailand and Vietnam. To demonstrate relationship between welfare and government regime, documentary research and focus groups were employed to collect information from both countries, including Sanam Chai Khet and Bang Nam Prieo districts, Chachoengsao, Thailand, and Nam Định and Hà Nam, Vietnam. The finding indicated that political regimes of Thailand and Vietnam are hybrid regime and Socialist state respectively. Both regimes, however, had liberal welfare system concentrating on three issues: competitiveness, social work policy to help peasants who were under privileged for only survival in the market system, and volunteering insurances based on individuals rather than state intervention to improve higher standard of social wellbeing. Consequently, Thai and Vietnamese peasants have become underclass who are defined by insecurity and losing citizenship rights.
“Precariat” is a key concept to understand the 21st century of the capitalist system which explains informal employments in the urban area. This research, however, demonstrate that agricultural labour could be pointed out by the precariat. The data was collected by methods of documentary research, in-depth interviews, and focus group. The field research compared Chachoengsao Province (Thailand) and Hà Nam (the Red River Delta, Vietnam). Based on mode of work and social wellbeing, the finding showed that agricultural workers have confronted statute of precariats because their employment was informal works, insecure career path, lack of social security and welfare, and unforeseeable future. These circumstances have made Thai and Vietnamese peasants as agricultural workers turning to precarious works and becoming the precariat as the new class of economic system.
Studying and understanding of self and adaptation of foreign students in Thailand is significant to develop and change Thailand’s education in ASEAN participation. Thus, this article aims to study about self of Vietnamese students in Burapha University, and self-expression and adaptation of Vietnamese students after they reached into the new environment in Burapha University. Both of purposes use the framework of symbolic interaction to explain the self of Vietnamese students in Burapha University. Besides, the article found that Vietnamese students had relationship in their particular group. It was appeared 2 groups of their selves; firstly, self-expression in Vietnamese students’ group in which difference of areas and taste of each person. Then, they moved to the new environment, so they combined to a unique group under “Nationalitiness” contribute and rely on each other. Secondly, self-expression of social self emerged from interaction between Vietnamese students and other groups. The expression of Vietnamese students’ selves base on nationalitiness and certain group through symbolic system such as clothing, language, and group’s combination. Finally, Vietnamese students adapted themselves following the environments, interaction to others, and times.
Research by Thouchanok Sattayavinit
Short article by Thouchanok Sattayavinit
Book Reviews by Thouchanok Sattayavinit
Books by Thouchanok Sattayavinit
Teaching Documents by Thouchanok Sattayavinit
This research paper studied an agricultural welfare system allocated by public sectors to peasants of two major rice-exporting countries, Thailand and Vietnam. To demonstrate relationship between welfare and government regime, documentary research and focus groups were employed to collect information from both countries, including Sanam Chai Khet and Bang Nam Prieo districts, Chachoengsao, Thailand, and Nam Định and Hà Nam, Vietnam. The finding indicated that political regimes of Thailand and Vietnam are hybrid regime and Socialist state respectively. Both regimes, however, had liberal welfare system concentrating on three issues: competitiveness, social work policy to help peasants who were under privileged for only survival in the market system, and volunteering insurances based on individuals rather than state intervention to improve higher standard of social wellbeing. Consequently, Thai and Vietnamese peasants have become underclass who are defined by insecurity and losing citizenship rights.
“Precariat” is a key concept to understand the 21st century of the capitalist system which explains informal employments in the urban area. This research, however, demonstrate that agricultural labour could be pointed out by the precariat. The data was collected by methods of documentary research, in-depth interviews, and focus group. The field research compared Chachoengsao Province (Thailand) and Hà Nam (the Red River Delta, Vietnam). Based on mode of work and social wellbeing, the finding showed that agricultural workers have confronted statute of precariats because their employment was informal works, insecure career path, lack of social security and welfare, and unforeseeable future. These circumstances have made Thai and Vietnamese peasants as agricultural workers turning to precarious works and becoming the precariat as the new class of economic system.
Studying and understanding of self and adaptation of foreign students in Thailand is significant to develop and change Thailand’s education in ASEAN participation. Thus, this article aims to study about self of Vietnamese students in Burapha University, and self-expression and adaptation of Vietnamese students after they reached into the new environment in Burapha University. Both of purposes use the framework of symbolic interaction to explain the self of Vietnamese students in Burapha University. Besides, the article found that Vietnamese students had relationship in their particular group. It was appeared 2 groups of their selves; firstly, self-expression in Vietnamese students’ group in which difference of areas and taste of each person. Then, they moved to the new environment, so they combined to a unique group under “Nationalitiness” contribute and rely on each other. Secondly, self-expression of social self emerged from interaction between Vietnamese students and other groups. The expression of Vietnamese students’ selves base on nationalitiness and certain group through symbolic system such as clothing, language, and group’s combination. Finally, Vietnamese students adapted themselves following the environments, interaction to others, and times.