วารสารการเมืองการปกครอง ( Journal of Politics and Governance), 2018
In Ancient Greece, Sparta dominates over other city-states by powerful hoplite army ability. More... more In Ancient Greece, Sparta dominates over other city-states by powerful hoplite army ability. Moreover, Thucydides states that “Sparta’s ability to dominate other polis derived from the stability of her own domestic arrangements.” It means arrangement of relations between the Spartans and the helots. The result of this arrangement is that the helots are important resource unavoidable for superior army. However, Sparta not only owns stability of domestic arrangements, but also the mere threat of tyranny led some polis to create quite novel political systems, especially the role of Gerousia and Ephors in balancing the power of the kings. Consequently, this situation brings to this article for study on political systems development that preventing the threat of tyranny and many enemies. This article uses historical approach to study and is presented by using narrative for expressing the picture of novel political system in Sparta. Keyword: Ancient Greece, Sparta, political system
The International Conference on Public Organization (The ICONPO VII) Jatinangor, Sumedang, West Java, Indonesia, August, 22-23, 2017
The Military Junta overthrew democratic government in May 2014 and promised they would bring “Rea... more The Military Junta overthrew democratic government in May 2014 and promised they would bring “Real Democracy” to all Thai people. For democratic society, the important way for achievement is participatory method that is one process for establishing this society. The Citizens’ Partnership, which is used in United State of America, European country, India and etc., is subset of participatory method for going to democratic destination. Consequently, if Military Junta aims making Thailand to this beautiful destination the citizens’ partnership process unavoidably needs to install at this land. From this reason lead to this article emphasizes to study the situation on citizens’ partnership process under Thailand’s Military Junta era over the past three years. The article uses interdisciplinary approach for studying and historical approach especially narrative for revealing. Key words: Thailand’s Military Junta, the citizens’ partnership process, Democracy
This article studies relations between American Protestant Missionary and various sectors in Colo... more This article studies relations between American Protestant Missionary and various sectors in Colonial Burma. The study on relations demonstrates conflict or violence such as conflict and violence between missionary and Burmese government, conflict between all Burmese people about conversion, conflict with other church, conflict between American Protestant Missionary and American Presbyterian Missionary lead to international conflict between American Presbyterian Missionary and Siam government. Other that conflict between American Protestant Missionary and Burmese civil government after the Second World War. This article uses historical approach to study and narrative for presenting. Keyword: American Protestant Missionary, conflict, Colonial Burma
Relation between British Empire and missionary in India not absolutely support all together. We c... more Relation between British Empire and missionary in India not absolutely support all together. We can see suspicion in this relation. For British Empire, business benefit makes them be neutral and sometime supporting mission of local religion for instance Hindu activity. Although British government in India limits missionary mission but they can’t unavoidable conflict and violence such as conflict and violence between Hindu Indian and missionary in Madras. This article emphasizes to present 2 conflicts evidence. First revealing conflicts between British Empire and missionary. Second revealing conflicts between Indian and missionary and Indian Christianity. This article uses historical approach for studying and presenting. Keyword: missionary, conflict, British India
Studies in evolution of The Straits Settlement, the Federated Malay States and the Federation o... more Studies in evolution of The Straits Settlement, the Federated Malay States and the Federation of Malaya demonstrate beginning of British Empire predominance in Singapore and Malaysia; historian academic study in colonial history call Singapore and Malaysia area that Malay Peninsula. This article aims revealing procedure of British Empire predominance in Malay Peninsula. This predominance is the door for missionary mission. This article presents through portraying historical incidence. Keyword: missionary, Malay Peninsula, British Empire
Ancient Greece is appreciated as political realm represents equality and Democratic Prototype. Am... more Ancient Greece is appreciated as political realm represents equality and Democratic Prototype. American Revolution is modern revolution model. This revolution establishes constitution of freedom, peacefulness and that expands to the whole world. On the other hand history of Ancient Greece and American Democracy both relate to wars and violence. In Greece city state fill with war and the women is oppressed and separated from political realm. At the United States of America consist of racism and violence. For this reason, this article emphasizes studying on relation between Violence and Democracy in History of Ancient Greece and United States of America. Keyword: violence, democracy, Ancient Greece, United State of America
Democratic Thinking in Burma can tracing back after World War II. Aung San’s speech in 1947 expre... more Democratic Thinking in Burma can tracing back after World War II. Aung San’s speech in 1947 expresses coming “Democratic Thinking” in political arena of Burma. However Democratic Thinking is used for self-determination and independence campaign than going to real democracy in the same western way. Moreover these campaigns confront with conflict because political groups have different process to achieve. Therefore conflicts occur in the end such as Aung San is accused by opposition that “he becomes English stooges” or he is killed by opposition. Keyword: self-determination, independence, conflict, Burma
This article emphasizes the relation between Democracy and Violence. It has evolution since previ... more This article emphasizes the relation between Democracy and Violence. It has evolution since previous times to present. This argument bases on value of city-state of Athens which is appreciated the origin of democracy. After that, democracy can be interpreted in many dimensions. Such as the first is that Democracy Peace; democracies don't go to war with one another. The second is that Democratic Peace unless the consequences are to eliminate a greater evil and the third is that Violent Democracy; the origins and heart of democracy is essentially violent and so on. Violent Democracy is seen as new form of violence that is established after 9/11 crisis in United States of America and this event asserts that the concept of democracy is violent in itself. Keyword: democracy, violence, peace, state
This article emphasizes to study evolution of forest conservation in Huai Kha Khaeng. Natural res... more This article emphasizes to study evolution of forest conservation in Huai Kha Khaeng. Natural resources policy change in King Rama V era as significant turning point after that all resources are centralized to the state impact to whole social in large-scale. After Sueb Nakasatian’s death have changing to forest conservation in Huai Kha Khaeng. Uthai Thani Province gets direct effect from these changes because it is home of the Huai Kha Khaeng. Government and private sector come to there. But on the other side, implementation of government and private sector make difficulty to villager and hill tribe unavoidably. Keyword: Forest Conservation, villager, hill tribe, Huai Kha Khaeng, Uthai Thani
วารสารการเมืองการปกครอง ( Journal of Politics and Governance), 2018
In Ancient Greece, Sparta dominates over other city-states by powerful hoplite army ability. More... more In Ancient Greece, Sparta dominates over other city-states by powerful hoplite army ability. Moreover, Thucydides states that “Sparta’s ability to dominate other polis derived from the stability of her own domestic arrangements.” It means arrangement of relations between the Spartans and the helots. The result of this arrangement is that the helots are important resource unavoidable for superior army. However, Sparta not only owns stability of domestic arrangements, but also the mere threat of tyranny led some polis to create quite novel political systems, especially the role of Gerousia and Ephors in balancing the power of the kings. Consequently, this situation brings to this article for study on political systems development that preventing the threat of tyranny and many enemies. This article uses historical approach to study and is presented by using narrative for expressing the picture of novel political system in Sparta. Keyword: Ancient Greece, Sparta, political system
The International Conference on Public Organization (The ICONPO VII) Jatinangor, Sumedang, West Java, Indonesia, August, 22-23, 2017
The Military Junta overthrew democratic government in May 2014 and promised they would bring “Rea... more The Military Junta overthrew democratic government in May 2014 and promised they would bring “Real Democracy” to all Thai people. For democratic society, the important way for achievement is participatory method that is one process for establishing this society. The Citizens’ Partnership, which is used in United State of America, European country, India and etc., is subset of participatory method for going to democratic destination. Consequently, if Military Junta aims making Thailand to this beautiful destination the citizens’ partnership process unavoidably needs to install at this land. From this reason lead to this article emphasizes to study the situation on citizens’ partnership process under Thailand’s Military Junta era over the past three years. The article uses interdisciplinary approach for studying and historical approach especially narrative for revealing. Key words: Thailand’s Military Junta, the citizens’ partnership process, Democracy
This article studies relations between American Protestant Missionary and various sectors in Colo... more This article studies relations between American Protestant Missionary and various sectors in Colonial Burma. The study on relations demonstrates conflict or violence such as conflict and violence between missionary and Burmese government, conflict between all Burmese people about conversion, conflict with other church, conflict between American Protestant Missionary and American Presbyterian Missionary lead to international conflict between American Presbyterian Missionary and Siam government. Other that conflict between American Protestant Missionary and Burmese civil government after the Second World War. This article uses historical approach to study and narrative for presenting. Keyword: American Protestant Missionary, conflict, Colonial Burma
Relation between British Empire and missionary in India not absolutely support all together. We c... more Relation between British Empire and missionary in India not absolutely support all together. We can see suspicion in this relation. For British Empire, business benefit makes them be neutral and sometime supporting mission of local religion for instance Hindu activity. Although British government in India limits missionary mission but they can’t unavoidable conflict and violence such as conflict and violence between Hindu Indian and missionary in Madras. This article emphasizes to present 2 conflicts evidence. First revealing conflicts between British Empire and missionary. Second revealing conflicts between Indian and missionary and Indian Christianity. This article uses historical approach for studying and presenting. Keyword: missionary, conflict, British India
Studies in evolution of The Straits Settlement, the Federated Malay States and the Federation o... more Studies in evolution of The Straits Settlement, the Federated Malay States and the Federation of Malaya demonstrate beginning of British Empire predominance in Singapore and Malaysia; historian academic study in colonial history call Singapore and Malaysia area that Malay Peninsula. This article aims revealing procedure of British Empire predominance in Malay Peninsula. This predominance is the door for missionary mission. This article presents through portraying historical incidence. Keyword: missionary, Malay Peninsula, British Empire
Ancient Greece is appreciated as political realm represents equality and Democratic Prototype. Am... more Ancient Greece is appreciated as political realm represents equality and Democratic Prototype. American Revolution is modern revolution model. This revolution establishes constitution of freedom, peacefulness and that expands to the whole world. On the other hand history of Ancient Greece and American Democracy both relate to wars and violence. In Greece city state fill with war and the women is oppressed and separated from political realm. At the United States of America consist of racism and violence. For this reason, this article emphasizes studying on relation between Violence and Democracy in History of Ancient Greece and United States of America. Keyword: violence, democracy, Ancient Greece, United State of America
Democratic Thinking in Burma can tracing back after World War II. Aung San’s speech in 1947 expre... more Democratic Thinking in Burma can tracing back after World War II. Aung San’s speech in 1947 expresses coming “Democratic Thinking” in political arena of Burma. However Democratic Thinking is used for self-determination and independence campaign than going to real democracy in the same western way. Moreover these campaigns confront with conflict because political groups have different process to achieve. Therefore conflicts occur in the end such as Aung San is accused by opposition that “he becomes English stooges” or he is killed by opposition. Keyword: self-determination, independence, conflict, Burma
This article emphasizes the relation between Democracy and Violence. It has evolution since previ... more This article emphasizes the relation between Democracy and Violence. It has evolution since previous times to present. This argument bases on value of city-state of Athens which is appreciated the origin of democracy. After that, democracy can be interpreted in many dimensions. Such as the first is that Democracy Peace; democracies don't go to war with one another. The second is that Democratic Peace unless the consequences are to eliminate a greater evil and the third is that Violent Democracy; the origins and heart of democracy is essentially violent and so on. Violent Democracy is seen as new form of violence that is established after 9/11 crisis in United States of America and this event asserts that the concept of democracy is violent in itself. Keyword: democracy, violence, peace, state
This article emphasizes to study evolution of forest conservation in Huai Kha Khaeng. Natural res... more This article emphasizes to study evolution of forest conservation in Huai Kha Khaeng. Natural resources policy change in King Rama V era as significant turning point after that all resources are centralized to the state impact to whole social in large-scale. After Sueb Nakasatian’s death have changing to forest conservation in Huai Kha Khaeng. Uthai Thani Province gets direct effect from these changes because it is home of the Huai Kha Khaeng. Government and private sector come to there. But on the other side, implementation of government and private sector make difficulty to villager and hill tribe unavoidably. Keyword: Forest Conservation, villager, hill tribe, Huai Kha Khaeng, Uthai Thani
Uploads
Papers by Phao Nawakul
Keyword: Ancient Greece, Sparta, political system
ในยุคกรีกโบราณสิ่งที่ทำให้นครรัฐสปาร์ตามีอำนาจเหนือกว่านครรัฐอื่นคือการมีกองทัพบกอันเกรียงไกร มากไปกว่านั้นธูซิดิดีสให้เหตุผลว่า “ความสามารถของนครรัฐสปาร์ตาที่ทำให้มีอำนาจเหนือนครรัฐอื่นมาจากความสามารถในการจัดการภายในของพวกเขาเอง” ซึ่งโดยนัยแล้วหมายถึงการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างพลเมืองชาวสปาร์ตากับเฮล็อตเพราะการจัดการความสัมพันธ์นี้ส่งผลให้เฮล็อตเป็นกำลังสำคัญของกองทัพอันเกรียงไกรอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตามนอกจากจุดเด่นเรื่องกองทัพแล้วนครรัฐสปาร์ตายังมีจุดเด่นอีกด้านหนึ่งคือเป็นนครรัฐที่สร้างระบบการเมืองอันแปลกใหม่ที่น่าตื่นตาเพื่อป้องกันทรราชย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทของวุฒิสภาหรือสภาอาวุโสและอีฟอร์ในการถ่วงดุลอำนาจเหล่ากษัตริย์ ดังนั้นด้วยมุมมองที่กล่าวไปข้างต้นนำมาซึ่งบทความชิ้นนี้เพื่อศึกษาระบบการเมืองที่พัฒนาขึ้นเพื่อป้องกันทรราชย์และผู้รุกรานในนครรัฐสปาร์ตา โดยบทความนี้ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาและนำเสนอโดยการพรรณนาให้เห็นภาพระบบการเมืองอันน่าทึ่งนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกันของชนชั้นต่างๆ ในสังคม
คำสำคัญ: กรีกโบราณ, สปาร์ตา, ระบบการเมือง
Key words: Thailand’s Military Junta, the citizens’ partnership process, Democracy
Keyword: American Protestant Missionary, conflict, Colonial Burma
บทความนี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอเมริกันโปรเตสแตนต์มิชชันนารีกับภาคส่วนต่างๆ ในพม่ายุคอาณานิคมอังกฤษ การศึกษาความสัมพันธ์แสดงให้เห็นถึงความขัดแย้งหรือความรุนแรง ได้แก่ ความขัดแย้งและความรุนแรงระหว่างมิชชันนารีกับรัฐบาลพม่า ความขัดแย้งระหว่างประชาชนชาวพม่าในประเด็นการเปลี่ยนมานับถือคริสต์ศาสนา ความขัดแย้งกับมิชชันนารีต่างสำนัก ความขัดแย้งระหว่างประเทศที่เป็นผลมาจากการดำเนินกิจกรรมทางศาสนาของมิชชันนารี และความขัดแย้งระหว่างอเมริกันโปรเตสแตนต์มิชชันนารีกับรัฐบาลพลเรือนพม่ายุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 บทความนี้ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาและนำเสนอในรูปแบบการพรรณนาให้เห็นภาพเพื่อความเข้าใจ
คำสำคัญ: อเมริกันโปรเตสแตนต์มิชชันนารี, ความขัดแย้ง, พม่ายุคอาณานิคม
Keyword: missionary, conflict, British India
การเกื้อกูลกันเป็นสิ่งที่เห็นได้ไม่มากนักในความสัมพันธ์ระหว่างจักรวรรดิอังกฤษกับมิชชันนารีในอินเดีย หากแต่ความหวาดระแวงที่มีต่อกันเป็นสิ่งที่มองเห็นได้อย่างเด่นชัด ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจทำให้อังกฤษต้องวางตัวไม่ให้ถูกมองว่าเข้าข้างมิชชันนารีและบางกรณีก็ไปสนับสนุนกิจกรรมของศาสนาท้องถิ่นอินเดียเสียด้วยซ้ำ แม้ว่าอังกฤษจะเข้มงวดเรื่องการดำเนินกิจกรรมของมิชชันนารีเพียงใดก็หลีกไม่พ้นความขัดแย้งหรือบางกรณีพัฒนาไปถึงความรุนแรงไปได้ ดังเช่นกรณีประชาชนชาวอินเดียผู้นับถือศาสนาฮินดูกับมิชชันนารีเกิดข้อขัดแย้งกันในเมืองมัทราส เป็นต้น บทความมุ่งนำเสนอความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในอินเดียยุคอาณานิคมอังกฤษต่อกรณีการเข้ามาของเหล่ามิชชันนารีโดยความขัดแย้งที่เกิดขึ้นมี 2 กรณีคือ ความขัดแย้งระหว่างจักรวรรดิอังกฤษกับมิชชันนารีและความขัดแย้งหรือรุนแรงระหว่างชาวอินเดียกับมิชชันนารีและชาวอินเดียผู้เปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ บทความนี้ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาและนำเสนอ
คำสำคัญ: มิชชันนารี, ความขัดแย้ง, อินเดียยุคอาณานิคมอังกฤษ
Keyword: missionary, Malay Peninsula, British Empire
อาณานิคมช่องแคบ สหพันธรัฐมลายู และ สหพันธรัฐมลายา การศึกษาพัฒนาการทั้งสามทำให้เราทราบถึงจุดเริ่มการเข้าไปมีอำนาจของอังกฤษในสิงคโปร์และมาเลเซียหรือที่นักวิชาการที่ศึกษาประวัติศาสตร์ในยุคอาณานิคมเรียกพื้นที่นี้ว่า “คาบสมุทรมลายู” หรือ “แหลมมลายู” วัตถุประสงค์ของบทความเพื่ออธิบายวิธีการเข้าไปมีอำนาจในคาบสมุทรมลายูของจักรวรรดิอังกฤษ วิธีการเข้าไปมีอำนาจถือเป็นใบเบิกทางให้กับมิชชันนารี การนำเสนอใช้วิธีการพรรณนาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวทั้งหมด
คำสำคัญ: มิชชันนารี, คาบสมุทรมลายู, จักรวรรดิอังกฤษ
Keyword: violence, democracy, Ancient Greece, United State of America
กรีกโบราณถูกให้คุณค่าว่าเป็นปริมณฑลทางการเมืองที่แสดงถึงความเท่าเทียม เป็นต้นแบบของประชาธิปไตยในโลกปัจจุบัน การปฏิวัติอเมริกาเป็นแบบอย่างของการปฏิวัติสมัยใหม่ที่นำมาซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งเสรีภาพและสันติ เป็นแบบอย่างของประชาธิปไตยสมัยใหม่ที่แผ่ขยายไปทั่วโลก แต่อีกด้านหนึ่งการศึกษาประวัติศาสตร์ยุคกรีกโบราณและอเมริกาพบว่า พวกเขาสัมพันธ์กับความรุนแรงและสงคราม สังคมกรีกโบราณเต็มไปด้วยสงคราม สตรีถูกกดขี่และถูกกีดกันออกจากพื้นทางการเมือง สังคมอเมริกาเต็มไปด้วยการเหยียดเชื้อชาติและความรุนแรง ดังนั้นบทความนี้จึงต้องการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงกับประชาธิปไตยผ่านประวัติศาสตร์ของกรีกโบราณและสหรัฐอเมริกา
คำสำคัญ:, ความรุนแรง, ประชาธิปไตย, กรีกโบราณ, สหรัฐอเมริกา
Keyword: self-determination, independence, conflict, Burma
กระแสความคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยในพม่าสามารถสืบค้นร่องรอยได้ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 คำประกาศของอองซานที่ย่างกุ้งในปี ค.ศ. 1947 แสดงให้เห็นการเข้ามาของกระแสความคิดประชาธิปไตยในพม่าในช่วงเวลานั้น อย่างไรก็ตามประชาธิปไตยในช่วงเวลาดังกล่าวนำมาใช้เพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิในการปกครองตนเองและอิสรภาพจากจักรวรรดินิยมอังกฤษมากกว่าแสวงหาประชาธิปไตยที่แท้จริงตามแนวทางตะวันตก นอกจากนั้นกระบวนการเรียกร้องนี้ยังต้องเผชิญกับความขัดแย้งภายในพม่าเองเหตุเพราะกลุ่มการเมืองต่างๆ มีแนวทางการเปลี่ยนแปลงบรรลุจุดมุ่งหมายแตกต่างกัน ดังจะเห็นได้จากกรณีที่อองซานถูกโจมตีจากกลุ่มการเมืองที่เห็นต่างว่าเป็นพวกเดียวกับจักรวรรดิอังกฤษ หรือ กรณีที่เขาถูกสังหารก่อนประเทศได้รับอิสรภาพ เป็นต้น
คำสำคัญ: สิทธิในการปกครองตนเอง, อิสรภาพ, ความขัดแย้ง, พม่า
คำสำคัญ: ความรุนแรง, รัฐ, กะเหรี่ยง, ผืนป่าตะวันตก
Keyword: democracy, violence, peace, state
บทความนี้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างประชาธิปไตยกับความรุนแรงที่มีพัฒนาการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ฐานที่สำคัญในการวิเคราะห์เริ่มจากคุณค่าที่ได้จากนครรัฐเอเธนส์ที่ถูกมองว่าเป็นต้นกำเนิดของประชาธิปไตย หลังจากนั้นประชาธิปไตยถูกมองในหลากหลายมิติ เช่น ประชาธิปไตยอยู่ตรงข้ามกับความรุนแรง รัฐประชาธิปไตยถูกมองว่ามีความชอบธรรมในการใช้ความรุนแรง ความไม่รุนแรงเป็นทางเลือกที่มนุษย์ในสังคมประชาธิปไตยควรใช้ จุดกำเนิดและหัวใจสำคัญของประชาธิปไตยคือความรุนแรง และ ประชาธิปไตยมีความรุนแรงในตัวของมันเอง เป็นต้น โดยในประเด็นสุดท้ายนี้ถูกให้ความสำคัญว่าเป็นพัฒนาการของการใช้ความรุนแรงแบบใหม่ที่เกิดขึ้นบนโลกมนุษย์ โดยมีเหตุการณ์ 9/11 ที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาเป็นสิ่งยืนยันว่าประชาธิปไตยมีความรุนแรงในตัวของมันเอง
คำสำคัญ: ประชาธิปไตย, ความรุนแรง, สันติภาพ, รัฐ
Keyword: Forest Conservation, villager, hill tribe, Huai Kha Khaeng, Uthai Thani
บทความนี้มุ่งศึกษาพัฒนาการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ป่าห้วยขาแข้ง การเปลี่ยนแปลงนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญโดยเฉพาะประเด็นการนำทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดมาเป็นของรัฐซึ่งสร้างผลกระทบแก่สังคมโดยรวมเป็นอย่างมาก การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกิดขึ้นอีกครั้งหลังการเสียชีวิตของ สืบ นาคะเสถียร ในปี 2533 หลังจากนั้นนโยบายทั้งจากภาครัฐและเอกชนต่างมุ่งหน้าสู่ผืนป่าป่าห้วยขาแข้งเพื่อปกปักรักษามรดกโลกอันมีค่านี้ไว้ แม้การดำเนินนโยบายมีความปรารถนาดีต่อสังคมโดยรวมแต่อีกด้านหนึ่งการดำเนินนโยบายต่างๆ ก็สร้างผลกระทบให้แก่ชาวบ้านและชาวเขาซึ่งอาศัยอยู่บริเวณป่าห้วยขาแข้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นกัน
คำสำคัญ: การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้, ชาวบ้าน, ชาวเขา, ห้วยขาแข้ง, อุทัยธานี
Keyword: Ancient Greece, Sparta, political system
ในยุคกรีกโบราณสิ่งที่ทำให้นครรัฐสปาร์ตามีอำนาจเหนือกว่านครรัฐอื่นคือการมีกองทัพบกอันเกรียงไกร มากไปกว่านั้นธูซิดิดีสให้เหตุผลว่า “ความสามารถของนครรัฐสปาร์ตาที่ทำให้มีอำนาจเหนือนครรัฐอื่นมาจากความสามารถในการจัดการภายในของพวกเขาเอง” ซึ่งโดยนัยแล้วหมายถึงการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างพลเมืองชาวสปาร์ตากับเฮล็อตเพราะการจัดการความสัมพันธ์นี้ส่งผลให้เฮล็อตเป็นกำลังสำคัญของกองทัพอันเกรียงไกรอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตามนอกจากจุดเด่นเรื่องกองทัพแล้วนครรัฐสปาร์ตายังมีจุดเด่นอีกด้านหนึ่งคือเป็นนครรัฐที่สร้างระบบการเมืองอันแปลกใหม่ที่น่าตื่นตาเพื่อป้องกันทรราชย์โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทของวุฒิสภาหรือสภาอาวุโสและอีฟอร์ในการถ่วงดุลอำนาจเหล่ากษัตริย์ ดังนั้นด้วยมุมมองที่กล่าวไปข้างต้นนำมาซึ่งบทความชิ้นนี้เพื่อศึกษาระบบการเมืองที่พัฒนาขึ้นเพื่อป้องกันทรราชย์และผู้รุกรานในนครรัฐสปาร์ตา โดยบทความนี้ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาและนำเสนอโดยการพรรณนาให้เห็นภาพระบบการเมืองอันน่าทึ่งนี้โดยเฉพาะอย่างยิ่งการถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกันของชนชั้นต่างๆ ในสังคม
คำสำคัญ: กรีกโบราณ, สปาร์ตา, ระบบการเมือง
Key words: Thailand’s Military Junta, the citizens’ partnership process, Democracy
Keyword: American Protestant Missionary, conflict, Colonial Burma
บทความนี้มุ่งศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอเมริกันโปรเตสแตนต์มิชชันนารีกับภาคส่วนต่างๆ ในพม่ายุคอาณานิคมอังกฤษ การศึกษาความสัมพันธ์แสดงให้เห็นถึงความขัดแย้งหรือความรุนแรง ได้แก่ ความขัดแย้งและความรุนแรงระหว่างมิชชันนารีกับรัฐบาลพม่า ความขัดแย้งระหว่างประชาชนชาวพม่าในประเด็นการเปลี่ยนมานับถือคริสต์ศาสนา ความขัดแย้งกับมิชชันนารีต่างสำนัก ความขัดแย้งระหว่างประเทศที่เป็นผลมาจากการดำเนินกิจกรรมทางศาสนาของมิชชันนารี และความขัดแย้งระหว่างอเมริกันโปรเตสแตนต์มิชชันนารีกับรัฐบาลพลเรือนพม่ายุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 บทความนี้ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาและนำเสนอในรูปแบบการพรรณนาให้เห็นภาพเพื่อความเข้าใจ
คำสำคัญ: อเมริกันโปรเตสแตนต์มิชชันนารี, ความขัดแย้ง, พม่ายุคอาณานิคม
Keyword: missionary, conflict, British India
การเกื้อกูลกันเป็นสิ่งที่เห็นได้ไม่มากนักในความสัมพันธ์ระหว่างจักรวรรดิอังกฤษกับมิชชันนารีในอินเดีย หากแต่ความหวาดระแวงที่มีต่อกันเป็นสิ่งที่มองเห็นได้อย่างเด่นชัด ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจทำให้อังกฤษต้องวางตัวไม่ให้ถูกมองว่าเข้าข้างมิชชันนารีและบางกรณีก็ไปสนับสนุนกิจกรรมของศาสนาท้องถิ่นอินเดียเสียด้วยซ้ำ แม้ว่าอังกฤษจะเข้มงวดเรื่องการดำเนินกิจกรรมของมิชชันนารีเพียงใดก็หลีกไม่พ้นความขัดแย้งหรือบางกรณีพัฒนาไปถึงความรุนแรงไปได้ ดังเช่นกรณีประชาชนชาวอินเดียผู้นับถือศาสนาฮินดูกับมิชชันนารีเกิดข้อขัดแย้งกันในเมืองมัทราส เป็นต้น บทความมุ่งนำเสนอความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในอินเดียยุคอาณานิคมอังกฤษต่อกรณีการเข้ามาของเหล่ามิชชันนารีโดยความขัดแย้งที่เกิดขึ้นมี 2 กรณีคือ ความขัดแย้งระหว่างจักรวรรดิอังกฤษกับมิชชันนารีและความขัดแย้งหรือรุนแรงระหว่างชาวอินเดียกับมิชชันนารีและชาวอินเดียผู้เปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ บทความนี้ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาและนำเสนอ
คำสำคัญ: มิชชันนารี, ความขัดแย้ง, อินเดียยุคอาณานิคมอังกฤษ
Keyword: missionary, Malay Peninsula, British Empire
อาณานิคมช่องแคบ สหพันธรัฐมลายู และ สหพันธรัฐมลายา การศึกษาพัฒนาการทั้งสามทำให้เราทราบถึงจุดเริ่มการเข้าไปมีอำนาจของอังกฤษในสิงคโปร์และมาเลเซียหรือที่นักวิชาการที่ศึกษาประวัติศาสตร์ในยุคอาณานิคมเรียกพื้นที่นี้ว่า “คาบสมุทรมลายู” หรือ “แหลมมลายู” วัตถุประสงค์ของบทความเพื่ออธิบายวิธีการเข้าไปมีอำนาจในคาบสมุทรมลายูของจักรวรรดิอังกฤษ วิธีการเข้าไปมีอำนาจถือเป็นใบเบิกทางให้กับมิชชันนารี การนำเสนอใช้วิธีการพรรณนาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวทั้งหมด
คำสำคัญ: มิชชันนารี, คาบสมุทรมลายู, จักรวรรดิอังกฤษ
Keyword: violence, democracy, Ancient Greece, United State of America
กรีกโบราณถูกให้คุณค่าว่าเป็นปริมณฑลทางการเมืองที่แสดงถึงความเท่าเทียม เป็นต้นแบบของประชาธิปไตยในโลกปัจจุบัน การปฏิวัติอเมริกาเป็นแบบอย่างของการปฏิวัติสมัยใหม่ที่นำมาซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งเสรีภาพและสันติ เป็นแบบอย่างของประชาธิปไตยสมัยใหม่ที่แผ่ขยายไปทั่วโลก แต่อีกด้านหนึ่งการศึกษาประวัติศาสตร์ยุคกรีกโบราณและอเมริกาพบว่า พวกเขาสัมพันธ์กับความรุนแรงและสงคราม สังคมกรีกโบราณเต็มไปด้วยสงคราม สตรีถูกกดขี่และถูกกีดกันออกจากพื้นทางการเมือง สังคมอเมริกาเต็มไปด้วยการเหยียดเชื้อชาติและความรุนแรง ดังนั้นบทความนี้จึงต้องการศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงกับประชาธิปไตยผ่านประวัติศาสตร์ของกรีกโบราณและสหรัฐอเมริกา
คำสำคัญ:, ความรุนแรง, ประชาธิปไตย, กรีกโบราณ, สหรัฐอเมริกา
Keyword: self-determination, independence, conflict, Burma
กระแสความคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยในพม่าสามารถสืบค้นร่องรอยได้ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 คำประกาศของอองซานที่ย่างกุ้งในปี ค.ศ. 1947 แสดงให้เห็นการเข้ามาของกระแสความคิดประชาธิปไตยในพม่าในช่วงเวลานั้น อย่างไรก็ตามประชาธิปไตยในช่วงเวลาดังกล่าวนำมาใช้เพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิในการปกครองตนเองและอิสรภาพจากจักรวรรดินิยมอังกฤษมากกว่าแสวงหาประชาธิปไตยที่แท้จริงตามแนวทางตะวันตก นอกจากนั้นกระบวนการเรียกร้องนี้ยังต้องเผชิญกับความขัดแย้งภายในพม่าเองเหตุเพราะกลุ่มการเมืองต่างๆ มีแนวทางการเปลี่ยนแปลงบรรลุจุดมุ่งหมายแตกต่างกัน ดังจะเห็นได้จากกรณีที่อองซานถูกโจมตีจากกลุ่มการเมืองที่เห็นต่างว่าเป็นพวกเดียวกับจักรวรรดิอังกฤษ หรือ กรณีที่เขาถูกสังหารก่อนประเทศได้รับอิสรภาพ เป็นต้น
คำสำคัญ: สิทธิในการปกครองตนเอง, อิสรภาพ, ความขัดแย้ง, พม่า
คำสำคัญ: ความรุนแรง, รัฐ, กะเหรี่ยง, ผืนป่าตะวันตก
Keyword: democracy, violence, peace, state
บทความนี้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างประชาธิปไตยกับความรุนแรงที่มีพัฒนาการตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ฐานที่สำคัญในการวิเคราะห์เริ่มจากคุณค่าที่ได้จากนครรัฐเอเธนส์ที่ถูกมองว่าเป็นต้นกำเนิดของประชาธิปไตย หลังจากนั้นประชาธิปไตยถูกมองในหลากหลายมิติ เช่น ประชาธิปไตยอยู่ตรงข้ามกับความรุนแรง รัฐประชาธิปไตยถูกมองว่ามีความชอบธรรมในการใช้ความรุนแรง ความไม่รุนแรงเป็นทางเลือกที่มนุษย์ในสังคมประชาธิปไตยควรใช้ จุดกำเนิดและหัวใจสำคัญของประชาธิปไตยคือความรุนแรง และ ประชาธิปไตยมีความรุนแรงในตัวของมันเอง เป็นต้น โดยในประเด็นสุดท้ายนี้ถูกให้ความสำคัญว่าเป็นพัฒนาการของการใช้ความรุนแรงแบบใหม่ที่เกิดขึ้นบนโลกมนุษย์ โดยมีเหตุการณ์ 9/11 ที่เกิดขึ้นในสหรัฐอเมริกาเป็นสิ่งยืนยันว่าประชาธิปไตยมีความรุนแรงในตัวของมันเอง
คำสำคัญ: ประชาธิปไตย, ความรุนแรง, สันติภาพ, รัฐ
Keyword: Forest Conservation, villager, hill tribe, Huai Kha Khaeng, Uthai Thani
บทความนี้มุ่งศึกษาพัฒนาการด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ป่าห้วยขาแข้ง การเปลี่ยนแปลงนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญโดยเฉพาะประเด็นการนำทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดมาเป็นของรัฐซึ่งสร้างผลกระทบแก่สังคมโดยรวมเป็นอย่างมาก การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญเกิดขึ้นอีกครั้งหลังการเสียชีวิตของ สืบ นาคะเสถียร ในปี 2533 หลังจากนั้นนโยบายทั้งจากภาครัฐและเอกชนต่างมุ่งหน้าสู่ผืนป่าป่าห้วยขาแข้งเพื่อปกปักรักษามรดกโลกอันมีค่านี้ไว้ แม้การดำเนินนโยบายมีความปรารถนาดีต่อสังคมโดยรวมแต่อีกด้านหนึ่งการดำเนินนโยบายต่างๆ ก็สร้างผลกระทบให้แก่ชาวบ้านและชาวเขาซึ่งอาศัยอยู่บริเวณป่าห้วยขาแข้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นกัน
คำสำคัญ: การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้, ชาวบ้าน, ชาวเขา, ห้วยขาแข้ง, อุทัยธานี