Abstract
This article aims to present fields data within architectural studies of “Blaw” and othe... more Abstract This article aims to present fields data within architectural studies of “Blaw” and other Karenic cultural landscape architectures, founds in 8 communities in Thailand since 2007 , to fulfill knowledge according to Karenic Founder’s Cult in narrative details.
The distributed area along Thai-Mynmar border line of the people in Karen culture is approximately same size as of Democratic People's Republic of Laos. As largest ethnic group in Thailand, they settled here for thousands years before main population today Thai-Lao groups. They sustains against the political forces and economic changing along time of history. Their significant aspects inside the culture become the same root of political conscious of the Country as living archeological data on same geographical context as well.
Most of them have both rituals and agents with one leader fit with natural life-cycle of rain agriculture society in mountainous area. However some are developing through development discourse in two directions, escape and negotiation. New information also stresses in the deputy chiefs on how they praxis to keep the Founder’s Cult system, as a representative of sub ethno linguistic group and clan, to sustain Karenic community system before separation of sub ethno-linguistic in their history. Finally, it recommend the Founder’s Cult system as a liminal knowledge in gap between community and society (Gemeinschaft und Gesellschaft) in Sociology. The HiKho, BlawKho chief of the system may understand as archeology personification of “Proto-kingship” on its development in Historical Politics of South East Asia region.
Abstract: This statement is a part of several intrigated researches in charged by author such as -Cultural Landscape and Eco system in Petchburi Basin in Dynamic of Built Environment in Petchburi Watershed Basin, funded by NRCT2008- Peace and Sustainble in Thachin-Maeklong river basin,by Mahidol University,- Locally – Based Housing Development: Integrated Approach Towards Sustainability ,by NHA 2008 The objectives is value-added assess of Palmyra palm cultural landscape, which wide LCA in several dimensions, especially, in becoming time of world energy crisis. The conclusion suggest about large scale Palmyra Palms cultivating in each part of the country to maintain of integrative sufficiently sustainable which prepare long-lasting self-sufficiency for both entrepreneur and local authority and also criticize through Eucalyptus in paddle field presented recently by Thailand Government.
Saran Samantarat 2015: “Blaw” S’gaw and Pwo Northern Karen Ritual-
common Houses. Doctor of Philosophy (Built Environment), Major Field:
Built Environment, Department of Architecture. Thesis Advisor:
Professor Ornsiri Panin, M. S. 217 pages.
This research aims to find the significant of Karen culture which manifest along their ritual and built environment and discover the situation of “Blaw” the ritual common house in Thailand. Surveying mixed with two qualitative approaches such as ‘Bourdieu's calendar’ for choose both common and personal riuals to analyze by ‘symbolic ritual process analysis’ or ‘Turner’’s ritual process’ to explore 8 community cases in Chiangmai, Tak, Maehongson where its population are subgroup S’gaw[ksw] and Northern Pwo[pww] which 5 cases are new discovery.
The Exploration found new status of 8-16 ‘blaw’ in Karen community in Thailand 2015. Their cultural common criteria as taboos and general aspects for creating ‘blaw’ community are known, how to built ‘blaw’ as architecture aspects and social aspects, no differentiation on S’gaw and Pwo Northern Karen. Particularly case in Mae Torla explored in its first pole and its typical locality in the community as cultural mutation.
The essential result, analyses from wild range of Karen cultural aspects, found their particular significant, so called ‘Form-of-Life’ metaphor. This metaphor manifests in cycling change metaphorical order on Life, Things, and time-span. Every moment of ordinary common ritual-life fit to seasoning landscape. This metaphor unprofaned the special sacred on Karen ordinary life.
Abstract
This paper is a part of production in subgroup research under ‘Holistic Study ... more Abstract
This paper is a part of production in subgroup research under ‘Holistic Study for the Adaptability in the Different Context of Tai-Lao Ethnic in the Central Region Basin of Thailand’ supported by three members, the Thailand Research Fund, Office of the Higher Education Commission and Kasetsart University. Leaded and belonged to Professor Emeritus Ornsiri Panin on behalf of her ‘2009 Outstanding Professor Research Fund’.
The main idea aims to reinvestigate, review and redefine a few independency documentations, especially, the Siamese chronicles, on ‘Tai-Lao(Phu) /Krang/Klang’ in term of ethnic group same as Laoluangprabang in term of linguistic group by reinterpreted on the chronicles in Rama II-Rama III regimes of Rattanakosin period following former study references, emphasis to proof and choose the most reasonable one from paradoxical two hypothesis about the location of MuangPhuKrang .The first extensively hypothesis consisted that the place is on the left side of Mekong River referred from Rama III Chronicles. The second hypothesis presented, the problematic location probably sitting on the periphery of Phitsanulok precinct.
The result confutes the first and supports the second hypothesis. Matching to Linguistic view, found that Luangphrabang dialect speaking in Phitsanulok, Phetchabun, Loei, from right side of Mekong River to Nan River in Thailand.
Also from Economics History view, found that ‘lac’( from local insect Krang -Laccifer lacca Kerr.-) ,which collected in this area, had been important export goods since early Ayutthaya period. Last supporting data come from ‘Tamniab HuaMuang RC.118-List of Provinces1900’ an official documentary in King RamaV regime insist that ‘MuangPhukang’ existing in Phitsanulok precinct.
According to the historical context, forestry goods collective and merchandise brought ethnoliguistic people settle here and there for a long time. The ethnic vernacular architectural research must overcome the static boundary of Nationality by considerate, new ceiling of relativity theoretical concepts which expand the explanation power for complicated complexity context until now such as Diasporas, cultural identity, ethnicity consciousness from Cultural Study, Ethnicity Anthropology. Most of all, to testify any knowledge for its expired date before use, are necessary.
Urban Farming of Edible-nest Swiftlet on Refl exive Cultural Landscape
Saran Samantarat, Ornaim Tangkij-ngamwong, Ass.Prof. Sani Limthongsakul, Olarn Charaenchai
Faculty of Architecture, Kasetsart University
Pawin Sirisalee (M.LA.)
TA., Faculty of Architecture, Thamasart University
Edible-nest swiftlet (Collocalia fuciphaga), a mysterious bird of the World History, lives in Southeast Asia. Its famous nest has been announced as an ambrosial medical food.
Domesticating in caves near the river and sea, the edible-nest swiftlet initially sustain its life by those enormous insects found in the local habitat. Later, there was new habitat unintentionally emerged from human shelters in delta town area. This phenomenon has both impact and profit to each place in terms of economic, sociological and ecological aspects. This paper is interested in several relativity of sheltering edible-nest swiftlet in deep Gulf of Thailand and system dynamic of cultural landscape approached both pros and cons with sustainability. Collaborative secondary data was obtained from World crisis El nino in South-East Asia. Primary data was collected from a sub group research “Cultural Landscape in Phetchaburi Basin” under the main title called “The Study for Conservation and Development of the Built Environment in Phetchaburi Basin”, granted by National Research Council of Thailand 2007 and directed by Emeritus Professor Ornsiri Panin, Kasetsart University.
Edible-nest swiftlet farming developed from time to time, from economic commodity to a cultural agent. In the mean time, this farming business can become an interesting factor to balance the threesome of local economy, sociology, and
ecology which leads to sustainable development. This knowledge, if properly managed, will lead to beneficial win-win business and sustainable development for both human and nature.
Sometimes the smallest detail reveals the most about a culture. The study of Karen Sgaw vernacula... more Sometimes the smallest detail reveals the most about a culture. The study of Karen Sgaw vernacular landscape which collect widely field works along Northern Western and Southern of Thailand during 2007-2008, founded that common KarenSgaw household stoves not only keep its basic functions for needs but also keep containing with signifiers and signifiences of the most Karen Sgaw lifes culture.
Metaphorically, if a Karen common house infer to body of productive of a female wife owner , a stove at the heart of the house infer to her productive womb which reborn Karen culture and ethnic identity.This knowledge induce new angle to evaluate vernacular architecture and built environment as usual.
บางครั้งรายละเอียดสิ่งของในชีวิตประจำวันก็อาจให้ความหมายในส่วนสำคัญของวัฒนธรรมหนึ่งได้ บทความนี้เป็นผลการศึกษาทางด้านภูมิสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของกะเหรี่ยงสะกอร์ที่เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพระหว่างปี พ.ศ.2551-2552 และทบทวนเอกสารสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในพื้นที่อันกว้างขวางของการตั้งถิ่นฐานกะเหรี่ยงได้แก่ภาคเหนือภาคตะวันตกและภาคใต้ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2528 ชี้ว่า แม่เตาไฟและเครื่องใช้-สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างไม้ไผ่ของกะเหรี่ยงสะกอร์ดั้งเดิมนั้นไม่เพียงแต่ตอบสนองต่อความจำเป็นพื้นฐานเท่านั้น แต่ยังบรรจุไปด้วยสัญลักษณ์และความหมายของหลักการใหญ่ของวัฒนธรรมกะเหรี่ยงสะกอร์ อุปมัยว่าหากบ้านเรือนคือเรือนร่างของสตรีกะเหรี่ยงสกอร์ในวัยเจริญพันธุ์แล้ว เตาไฟในบ้านก็เปรียบเสมือนมดลูกอันจะให้กำเนิดสืบทอดทั้งวัฒนธรรมและอัตตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ขององค์ประธานหญิง ความรู้นี้ทบทวนและย้อนแย้งมุมมองเดิมที่ใช้ประเมินคุณค่าทางสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างโดยทั่วไป
This paper represent of how to positioning several notions or main concepts of several subject which called the holistic conceptualized diagram (HCD.) the diagram becomes a heuristic tool for more understanding of those ideals by relatively positioning in configuration. For examples in diagram are Einstein’s General Relativity Theory, Bourdieu’s Field Theory, Goffman’s Dramaturgy, and Lefebvre’s Production of Space and so on.
HCD is checking instruments for those interdisciplinary subjects by allow any academic individual to put down the positioning of each studied theory and see each others. This process might be able to be an interpreted heuristic tool for Academics Landscape reading that support any holistic paradigm studies
Abstract
As cultural meaning carriers, some built environment artifacts have its initial value for cultural code transmitting more than others as door, stair, hearth, first pillar, kradong, talaew and so on. Those same aspects used both in Tai and Karen, not only by its instrumental meaning, but also by its cultural signification, among cultural-dialectic diversity in South-East Asia context.
This paper aims to present the relatively comparison beween Tai and Karen cosmology. On Tai side, data from a Lungprabang dialect Tai-Lao research “Disaporas Paradox” gathers with rich literature review data from Tai Dam adjusting the origin point to indigeneous Karen represent Tai-Kadai language family. On Karen side, selected parts of Ph.D. dissertation “‘Blaw’ S’gaw and Pwo Northern Karen Ritual-common Houses” took place as representative of Tibeto-Burman language family. Both researchs and this paper, entrusted in relativism of knowledge. Victor Turner’s ‘Ritual Process Analysis’ and its triangulation oporated as major methodology instrument, and minor used ‘Diasporas Consciousness’ take place.
Betwixt, the locality, the process pattern, and the significance, those aspects reveal that both Tai and Karen have common cosmology of ‘Tree of Knowledge’. However Karen manifest in ‘Tree of Life’cosmology with equilibrium. The results lean to revise some pillar in Architecture foundation. The other three language-families might study more relativism for more understanding to open up new understanding of academic cultural landscape of region.
KEYWORDS
สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง; จักรวาลวิทยา; ไต; ไทดำ; กะเหรี่ยง; สกอร์; ต้นไม้แห่งชีวิต; ต้นไม้แห่งความรู้; ขวัญ; แม่เตาไฟ; ตาแหลว; กระด้ง; กระบวนการพิธีกรรม; สัมพัทธภาพ; built environment; cosmology; Tai; TaiDam; Karen; S’gaw; Tree of Life
Abstract
This article aims to present fields data within architectural studies of “Blaw” and othe... more Abstract This article aims to present fields data within architectural studies of “Blaw” and other Karenic cultural landscape architectures, founds in 8 communities in Thailand since 2007 , to fulfill knowledge according to Karenic Founder’s Cult in narrative details.
The distributed area along Thai-Mynmar border line of the people in Karen culture is approximately same size as of Democratic People's Republic of Laos. As largest ethnic group in Thailand, they settled here for thousands years before main population today Thai-Lao groups. They sustains against the political forces and economic changing along time of history. Their significant aspects inside the culture become the same root of political conscious of the Country as living archeological data on same geographical context as well.
Most of them have both rituals and agents with one leader fit with natural life-cycle of rain agriculture society in mountainous area. However some are developing through development discourse in two directions, escape and negotiation. New information also stresses in the deputy chiefs on how they praxis to keep the Founder’s Cult system, as a representative of sub ethno linguistic group and clan, to sustain Karenic community system before separation of sub ethno-linguistic in their history. Finally, it recommend the Founder’s Cult system as a liminal knowledge in gap between community and society (Gemeinschaft und Gesellschaft) in Sociology. The HiKho, BlawKho chief of the system may understand as archeology personification of “Proto-kingship” on its development in Historical Politics of South East Asia region.
Abstract: This statement is a part of several intrigated researches in charged by author such as -Cultural Landscape and Eco system in Petchburi Basin in Dynamic of Built Environment in Petchburi Watershed Basin, funded by NRCT2008- Peace and Sustainble in Thachin-Maeklong river basin,by Mahidol University,- Locally – Based Housing Development: Integrated Approach Towards Sustainability ,by NHA 2008 The objectives is value-added assess of Palmyra palm cultural landscape, which wide LCA in several dimensions, especially, in becoming time of world energy crisis. The conclusion suggest about large scale Palmyra Palms cultivating in each part of the country to maintain of integrative sufficiently sustainable which prepare long-lasting self-sufficiency for both entrepreneur and local authority and also criticize through Eucalyptus in paddle field presented recently by Thailand Government.
Saran Samantarat 2015: “Blaw” S’gaw and Pwo Northern Karen Ritual-
common Houses. Doctor of Philosophy (Built Environment), Major Field:
Built Environment, Department of Architecture. Thesis Advisor:
Professor Ornsiri Panin, M. S. 217 pages.
This research aims to find the significant of Karen culture which manifest along their ritual and built environment and discover the situation of “Blaw” the ritual common house in Thailand. Surveying mixed with two qualitative approaches such as ‘Bourdieu's calendar’ for choose both common and personal riuals to analyze by ‘symbolic ritual process analysis’ or ‘Turner’’s ritual process’ to explore 8 community cases in Chiangmai, Tak, Maehongson where its population are subgroup S’gaw[ksw] and Northern Pwo[pww] which 5 cases are new discovery.
The Exploration found new status of 8-16 ‘blaw’ in Karen community in Thailand 2015. Their cultural common criteria as taboos and general aspects for creating ‘blaw’ community are known, how to built ‘blaw’ as architecture aspects and social aspects, no differentiation on S’gaw and Pwo Northern Karen. Particularly case in Mae Torla explored in its first pole and its typical locality in the community as cultural mutation.
The essential result, analyses from wild range of Karen cultural aspects, found their particular significant, so called ‘Form-of-Life’ metaphor. This metaphor manifests in cycling change metaphorical order on Life, Things, and time-span. Every moment of ordinary common ritual-life fit to seasoning landscape. This metaphor unprofaned the special sacred on Karen ordinary life.
Abstract
This paper is a part of production in subgroup research under ‘Holistic Study ... more Abstract
This paper is a part of production in subgroup research under ‘Holistic Study for the Adaptability in the Different Context of Tai-Lao Ethnic in the Central Region Basin of Thailand’ supported by three members, the Thailand Research Fund, Office of the Higher Education Commission and Kasetsart University. Leaded and belonged to Professor Emeritus Ornsiri Panin on behalf of her ‘2009 Outstanding Professor Research Fund’.
The main idea aims to reinvestigate, review and redefine a few independency documentations, especially, the Siamese chronicles, on ‘Tai-Lao(Phu) /Krang/Klang’ in term of ethnic group same as Laoluangprabang in term of linguistic group by reinterpreted on the chronicles in Rama II-Rama III regimes of Rattanakosin period following former study references, emphasis to proof and choose the most reasonable one from paradoxical two hypothesis about the location of MuangPhuKrang .The first extensively hypothesis consisted that the place is on the left side of Mekong River referred from Rama III Chronicles. The second hypothesis presented, the problematic location probably sitting on the periphery of Phitsanulok precinct.
The result confutes the first and supports the second hypothesis. Matching to Linguistic view, found that Luangphrabang dialect speaking in Phitsanulok, Phetchabun, Loei, from right side of Mekong River to Nan River in Thailand.
Also from Economics History view, found that ‘lac’( from local insect Krang -Laccifer lacca Kerr.-) ,which collected in this area, had been important export goods since early Ayutthaya period. Last supporting data come from ‘Tamniab HuaMuang RC.118-List of Provinces1900’ an official documentary in King RamaV regime insist that ‘MuangPhukang’ existing in Phitsanulok precinct.
According to the historical context, forestry goods collective and merchandise brought ethnoliguistic people settle here and there for a long time. The ethnic vernacular architectural research must overcome the static boundary of Nationality by considerate, new ceiling of relativity theoretical concepts which expand the explanation power for complicated complexity context until now such as Diasporas, cultural identity, ethnicity consciousness from Cultural Study, Ethnicity Anthropology. Most of all, to testify any knowledge for its expired date before use, are necessary.
Urban Farming of Edible-nest Swiftlet on Refl exive Cultural Landscape
Saran Samantarat, Ornaim Tangkij-ngamwong, Ass.Prof. Sani Limthongsakul, Olarn Charaenchai
Faculty of Architecture, Kasetsart University
Pawin Sirisalee (M.LA.)
TA., Faculty of Architecture, Thamasart University
Edible-nest swiftlet (Collocalia fuciphaga), a mysterious bird of the World History, lives in Southeast Asia. Its famous nest has been announced as an ambrosial medical food.
Domesticating in caves near the river and sea, the edible-nest swiftlet initially sustain its life by those enormous insects found in the local habitat. Later, there was new habitat unintentionally emerged from human shelters in delta town area. This phenomenon has both impact and profit to each place in terms of economic, sociological and ecological aspects. This paper is interested in several relativity of sheltering edible-nest swiftlet in deep Gulf of Thailand and system dynamic of cultural landscape approached both pros and cons with sustainability. Collaborative secondary data was obtained from World crisis El nino in South-East Asia. Primary data was collected from a sub group research “Cultural Landscape in Phetchaburi Basin” under the main title called “The Study for Conservation and Development of the Built Environment in Phetchaburi Basin”, granted by National Research Council of Thailand 2007 and directed by Emeritus Professor Ornsiri Panin, Kasetsart University.
Edible-nest swiftlet farming developed from time to time, from economic commodity to a cultural agent. In the mean time, this farming business can become an interesting factor to balance the threesome of local economy, sociology, and
ecology which leads to sustainable development. This knowledge, if properly managed, will lead to beneficial win-win business and sustainable development for both human and nature.
Sometimes the smallest detail reveals the most about a culture. The study of Karen Sgaw vernacula... more Sometimes the smallest detail reveals the most about a culture. The study of Karen Sgaw vernacular landscape which collect widely field works along Northern Western and Southern of Thailand during 2007-2008, founded that common KarenSgaw household stoves not only keep its basic functions for needs but also keep containing with signifiers and signifiences of the most Karen Sgaw lifes culture.
Metaphorically, if a Karen common house infer to body of productive of a female wife owner , a stove at the heart of the house infer to her productive womb which reborn Karen culture and ethnic identity.This knowledge induce new angle to evaluate vernacular architecture and built environment as usual.
บางครั้งรายละเอียดสิ่งของในชีวิตประจำวันก็อาจให้ความหมายในส่วนสำคัญของวัฒนธรรมหนึ่งได้ บทความนี้เป็นผลการศึกษาทางด้านภูมิสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของกะเหรี่ยงสะกอร์ที่เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพระหว่างปี พ.ศ.2551-2552 และทบทวนเอกสารสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในพื้นที่อันกว้างขวางของการตั้งถิ่นฐานกะเหรี่ยงได้แก่ภาคเหนือภาคตะวันตกและภาคใต้ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2528 ชี้ว่า แม่เตาไฟและเครื่องใช้-สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างไม้ไผ่ของกะเหรี่ยงสะกอร์ดั้งเดิมนั้นไม่เพียงแต่ตอบสนองต่อความจำเป็นพื้นฐานเท่านั้น แต่ยังบรรจุไปด้วยสัญลักษณ์และความหมายของหลักการใหญ่ของวัฒนธรรมกะเหรี่ยงสะกอร์ อุปมัยว่าหากบ้านเรือนคือเรือนร่างของสตรีกะเหรี่ยงสกอร์ในวัยเจริญพันธุ์แล้ว เตาไฟในบ้านก็เปรียบเสมือนมดลูกอันจะให้กำเนิดสืบทอดทั้งวัฒนธรรมและอัตตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ขององค์ประธานหญิง ความรู้นี้ทบทวนและย้อนแย้งมุมมองเดิมที่ใช้ประเมินคุณค่าทางสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างโดยทั่วไป
This paper represent of how to positioning several notions or main concepts of several subject which called the holistic conceptualized diagram (HCD.) the diagram becomes a heuristic tool for more understanding of those ideals by relatively positioning in configuration. For examples in diagram are Einstein’s General Relativity Theory, Bourdieu’s Field Theory, Goffman’s Dramaturgy, and Lefebvre’s Production of Space and so on.
HCD is checking instruments for those interdisciplinary subjects by allow any academic individual to put down the positioning of each studied theory and see each others. This process might be able to be an interpreted heuristic tool for Academics Landscape reading that support any holistic paradigm studies
Abstract
As cultural meaning carriers, some built environment artifacts have its initial value for cultural code transmitting more than others as door, stair, hearth, first pillar, kradong, talaew and so on. Those same aspects used both in Tai and Karen, not only by its instrumental meaning, but also by its cultural signification, among cultural-dialectic diversity in South-East Asia context.
This paper aims to present the relatively comparison beween Tai and Karen cosmology. On Tai side, data from a Lungprabang dialect Tai-Lao research “Disaporas Paradox” gathers with rich literature review data from Tai Dam adjusting the origin point to indigeneous Karen represent Tai-Kadai language family. On Karen side, selected parts of Ph.D. dissertation “‘Blaw’ S’gaw and Pwo Northern Karen Ritual-common Houses” took place as representative of Tibeto-Burman language family. Both researchs and this paper, entrusted in relativism of knowledge. Victor Turner’s ‘Ritual Process Analysis’ and its triangulation oporated as major methodology instrument, and minor used ‘Diasporas Consciousness’ take place.
Betwixt, the locality, the process pattern, and the significance, those aspects reveal that both Tai and Karen have common cosmology of ‘Tree of Knowledge’. However Karen manifest in ‘Tree of Life’cosmology with equilibrium. The results lean to revise some pillar in Architecture foundation. The other three language-families might study more relativism for more understanding to open up new understanding of academic cultural landscape of region.
KEYWORDS
สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง; จักรวาลวิทยา; ไต; ไทดำ; กะเหรี่ยง; สกอร์; ต้นไม้แห่งชีวิต; ต้นไม้แห่งความรู้; ขวัญ; แม่เตาไฟ; ตาแหลว; กระด้ง; กระบวนการพิธีกรรม; สัมพัทธภาพ; built environment; cosmology; Tai; TaiDam; Karen; S’gaw; Tree of Life
This paper examines how a part of Karenic 'Founder's Cult' systems called " Blaw Kho " involves a... more This paper examines how a part of Karenic 'Founder's Cult' systems called " Blaw Kho " involves a continuum primordial religion systems and acts as a metaphor of thing-place-time-person so called dyadic symbolism. I show that the system serves as a complementary part of 'Zomia', a concept popularized by J.C. Scott, in that it hypothesizes an explanation for what happens in recent political crises in Thailand by marking the development of a proto-kingship ideology.
Uploads
Papers by saran samantarat
This article aims to present fields data within architectural studies of “Blaw” and other Karenic cultural landscape architectures, founds in 8 communities in Thailand since 2007 , to fulfill knowledge according to Karenic Founder’s Cult in narrative details.
The distributed area along Thai-Mynmar border line of the people in Karen culture is approximately same size as of Democratic People's Republic of Laos. As largest ethnic group in Thailand, they settled here for thousands years before main population today Thai-Lao groups. They sustains against the political forces and economic changing along time of history. Their significant aspects inside the culture become the same root of political conscious of the Country as living archeological data on same geographical context as well.
Most of them have both rituals and agents with one leader fit with natural life-cycle of rain agriculture society in mountainous area. However some are developing through development discourse in two directions, escape and negotiation.
New information also stresses in the deputy chiefs on how they praxis to keep the Founder’s Cult system, as a representative of sub ethno linguistic group and clan, to sustain Karenic community system before separation of sub ethno-linguistic in their history.
Finally, it recommend the Founder’s Cult system as a liminal knowledge in gap between community and society (Gemeinschaft und Gesellschaft) in Sociology. The HiKho, BlawKho chief of the system may understand as archeology personification of “Proto-kingship” on its development in Historical Politics of South East Asia region.
Key Words: Founder’s Cult, Charismatic, Pre-kingship, Blaw common ritual house, Blaw Kho headman, Blaw Khor elders, Karenic.
บทคัดย่อ
บทความนี้ต้องการเสนอข้อมูลภาคสนามใหม่ที่ได้รับจากการศึกษา “เบลาะ”และภูมิทัศน์สถาปัตยกรรมในวัฒนธรรมกะเหรี่ยงตั้งแต่ พ.ศ. 2550 ของแปดชุมชนในประเทศไทยโดยเฉพาะจากเรื่องราวของผู้นำและคณะผู้นำชุมชนเพื่อเติมเต็มองค์ความรู้เรื่องลัทธิผู้ก่อตั้ง ทั้งนี้เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
วัฒนธรรมกะเหรี่ยงเป็นวัฒนธรรมที่มีประชากรใหญ่มีพื้นที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณชายแดนไทย-พม่ามีขนาดใกล้เคียงกับพื้นที่สปป.ลาว และ มีประวัติการตั้งถิ่นฐานดั้งเดิมยาวนานกว่ากลุ่มชาติพันธุ์ ไท-ลาว เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศที่เผชิญกับแรงกดดันจากรัฐและทุนมาตลอด ความปรับตัวได้อย่างต่อเนื่องไม่ขาดสายของวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับวงจรสภาวะธรรมชาติเฉพาะถิ่นทางภูมิศาสตร์นี้จึงแฝงด้วยความหมายสำคัญที่อาจช่วยให้เข้าใจรากเหง้าทางสังคมการเมืองเสมือนหลักฐานทางโบราณคดีของพัฒนาการของรัฐในภูมิภาค
ในทุกกรณีศึกษามีปฏิบัติการพิธีกรรมและผู้นำคณะผู้อาวุโสพิธีกรรมซึ่งเป็นระบอบวัฒนธรรมอันสอดคล้องกับระบบวัฏจักรธรรมชาติในสังคมเกษตรกรรมน้ำฝนในเขตพื้นที่หุบเขา อย่างไรก็ตามก็มีบางชุมชนที่กำลังเผชิญหน้ากับวาทกรรมการพัฒนาโดยมีทิศทางทั้งที่หลบหนีเลิกรื้อและการต่อรอง
นอกจากนี้ยังมีข้อเท็จจริงใหม่ที่เสนอถึงตำแหน่งรองผู้นำ ฮิข่อ, เบลาะข่อ ซึ่งมีความสำคัญทั้งในการสืบรักษาระบบลัทธิผู้ก่อตั้งและ บทบาทการเป็นตัวแทนของกลุ่มประชากรย่อยกลุ่มภาษาและกลุ่มสายตระกูล ทำให้สืบได้ว่าระบบลัทธิผู้ก่อตั้งกะเหรี่ยงมีมาก่อนการวิวัฒนาการแยกกลุ่มชาติพันธุ์ภาษาในประวัติศาสตร์
บทความให้ข้อเสนอว่า ระบบลัทธิผู้ก่อตั้งมีความสำคัญในการทำความเข้าใจรอยต่อระหว่างความเป็นชุมชนกับความเป็นสังคมในวิชาสังคมวิทยา ตำแหน่งผู้นำของระบบที่เรียกว่า ฮิโข่, เบลาะโข่ ก็ช่วยทำความเข้าใจ โบราณคดีก่อนมีระบบกษัตริย์ของสังคมที่พัฒนาการขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในแง่ประวัติศาสตร์รัฐศาสตร์
คำสำคัญ: ลัทธิผู้ก่อตั้ง, บารมี, ก่อนระบบกษัตริย์, เบลาะโรงเรือนพิธีกรรมส่วนรวม, เบลาะโข่ ผู้นำพิธีกรรม, เบลาะข่อ คณะผู้อาวุโส, กะเหรี่ยง
บทคัดย่อ: บทความต่อไปนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเชิงบูรณาการจำนวนหนึ่งได้แก่-ภูมิทัศน์วัฒนธรรมกับระบบนิเวศในพื้นที่ลุ่มน้ำเพชรบุรี ซึ่งเป็นโครงการย่อยในงานเรื่อง พลวัตสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างลุ่มน้ำเพชรบุรีทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติปี๒๕๕๑ -สันติภาพและความยั่งยืนลุ่มน้ำท่าจีนแม่กลองทุนมหาวิทยาลัยมหิดล- และการศึกษาวิจัยเคหะพื้นถิ่นแบบบูรณาการเพื่อการพึ่งพาตนเองโดยการสนับสนุนจากการเคหะแห่งชาติ๒๕๕๑ และการวิจัยเรือ่งการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการพัฒนาชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงในเขตพื้นที่สถานีวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๒๕๕๑ โดย เขียนขึ้นเพื่อเสนอต่อการประชุมทางวิชาการ CDAST2008
บทความนี้กล่าวถึง คุณลักษณ์ทางภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์นิเวศวิทยาสังคมศาสตร์เศรษฐศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ของตาลโตนด หรืออีกนัยหนึ่ง ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของตาลโตนด ในช่วงเวลาปัจจุบันที่มีวิกฤตการณ์ด้านพลังงานของโลก
บทความเสนอแนะให้ขยายการปลูกตาลโตนดในภูมิทัศน์ถนนทางหลวงและการปลูกแปลงขนาดใหญ่เพื่อปรับปรุงที่ดินและพัฒนาการอย่างยั่งยืนเชิงบูรณาการ นอกจากนี้ยังเสนอให้ทบทวนการส่งเสริมการปลูกยูคาลิปตัสในที่นาของรัฐบาลไทยในปีพ.ศ.๒๕๕๑
Abstract: This statement is a part of several intrigated researches in charged by author such as -Cultural Landscape and Eco system in Petchburi Basin in Dynamic of Built Environment in Petchburi Watershed Basin, funded by NRCT2008- Peace and Sustainble in Thachin-Maeklong river basin,by Mahidol University,- Locally – Based Housing Development: Integrated Approach Towards Sustainability ,by NHA 2008
The objectives is value-added assess of Palmyra palm cultural landscape, which wide LCA in several dimensions, especially, in becoming time of world energy crisis.
The conclusion suggest about large scale Palmyra Palms cultivating in each part of the country to maintain of integrative sufficiently sustainable which prepare long-lasting self-sufficiency for both entrepreneur and local authority and also criticize through Eucalyptus in paddle field presented recently by Thailand Government.
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะ นำเสนอ กระบวนการศึกษาแบบภูมิทัศน์วัฒนธรรมย้อนคิดเป็นผลจากการศึกษาพัฒนาทฤษฎีเฉพาะถิ่น (grounded theory) เพื่อสร้างความเข้าใจสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างเชิงบูรณาการ องค์รวมโดยมีการค้นคว้าจากหลายสาขาวิชา เช่น ธรณีสัญฐาน,นิรุกติศาสตร์, สังคมศาสตร์,รัฐศาสตร์ ฯลฯ ซึ่งรวมแล้วอาจเรียกว่าอยู่ในกระบวนทัศน์การค้นหาความรู้แบบ “หลังสมัยใหม่” โดยมีแก่นที่การบูรณการชุดความรู้ของบูรดิเยอร์คือ วงการ ,นิจกรรม,การสะท้อนย้อนคิด,และตัวแทน เป็นรากฐานสำคัญ ตรวจสอบร่วมไปกับประสบการณ์วิจัยภาคสนามแนวทาง ภูมิทัศน์วัฒนธรรม และ สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่ได้ทำไปแล้ว
ทฤษฎีรวมหน่วยพื้นฐานทางวิชาการสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างนี้สามาถนำไปอธิบายกลไกเชิงพลวัตของเหตุปัจจัยอิทัปปัจยตา ในสภาวะแวดล้อมสรรค์สร้างที่มีความเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอหรืออนิจจลักษณ์ในสัจธรรม โดยแสดงเหตุปัจจัยอย่างสรุปสามประการหากใช้นิยามวิชาการทางสังคมได้แก่ ตัวแทน, ปฏิบัติการ และวงการ หรือหากใช้นิยามทางสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างก็จะได้แก่ มนุษย์,สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง และ เงื่อนไขทางสังคมวัฒนธรรมเป็นต้น รวมไปถึง สาขาวิชาการอื่นๆที่เกี่ยวข้องด้วย
การสาธิตตัวอย่างถูกรวบรวมจาก สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างในชีวิตประจำวันของผู้เขียนในประเทศไทย ในมุมมองประวัติศาสตร์สัมพัทธ์ ได้แก่ เพลงลูกทุ่ง รากคำไทยที่เกี่ยวเนื่อง และ ผลสรุปข้อค้นพบข้อวินิจฉัยจากประสบการณ์ การวิจัยภาคสนาม จากการวิจัยหลายชิ้น โดยทุนสนับสนุนโครงการวิจัย จากแหล่งทุนต่างๆในหลายกาลเทศะระหว่างปี พ.ศ.2548-2552
การวิจัยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาสองประการคือ เพื่อสำรวจตรวจสอบสถานะ ณ ปัจจุบันของโรงเรือนพิธีกรรมส่วนรวมกะเหรี่ยง “เบลาะ” ในประเทศไทย และเพื่อความเข้าใจความหมายสำคัญทางวัฒนธรรมกะเหรี่ยงจาก “เบลาะ” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบผสมและเชิงสำรวจโดยใช้กรอบแนวคิดวิธีวิทยาสองประการได้แก่การวิเคราะห์สัญลักษณ์กระบวนการพิธีกรรมและใช้กรอบวัฏจักรปฏิทินรอบปี/ช่วงชีวิต ในการศึกษาทั้งระดับขนาดชุมชนและระดับขนาดบุคคลในเหตุการณ์พิธีกรรมที่เป็นตัวแทนของตำแหน่งเวลาสำคัญ กรณีศึกษาชุมชนกะเหรี่ยงที่มี “เบลาะ” ในประเทศไทยทั้ง 8 กรณีศึกษาที่สำรวจพบตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่, ตาก และ แม่ฮ่องสอน กลุ่มประชากรเป็นสำเนียงโปว์ และ สะกอร์ ซึ่งมี 5 แห่งเป็นกรณีที่ค้นพบใหม่
ผลการสำรวจได้พบถึงสถานะการมีอยู่ของชุมชน “เบลาะ”ที่มีอยู่ระหว่าง 8-16 แห่งในประเทศไทยปัจจุบัน ทราบลักษณะเฉพาะเกณฑ์ทั่วไปได้แก่ คติความเชื่อข้อห้ามวิธีปฏิบัติ รูปแบบวัสดุและการวางตำแหน่งในผังบริเวณ และ ลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากเกณฑ์ทั่วไปที่พบของชุมชน “เบลาะ”แม่ตอละ ในผังบริเวณและเสาเอก ผลการศึกษาเห็นลักษณะทั่วไปของเบลาะไม่มีความแตกต่างกันจากเงื่อนไขกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งสองกลุ่ม
ผลการวิเคราะห์พบว่ามีลักษณะเฉพาะของการใช้สัญลักษณ์ระหว่าง ชีวิต, ช่วงเวลาและสิ่งต่างๆรอบตัวอย่างต่อเนื่องในชีวิตประจำวันและพิธีกรรมทั้งในเบลาะและส่วนอื่นๆอย่างกว้างขวาง การใช้สัญลักษณ์ดังกล่าวเรียกว่าการอุปลักษณ์ช่วงชีวิตมีลักษณะความธรรมดาสามัญกับความพิเศษซ้อนสลับอยู่ด้วยกันมีความเฉพาะตัวแตกต่างจากการอุปลักษณ์ในวัฒนธรรมหลักทั่วไปของไทย
/ /
ลายมือชื่อนิสิต ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
Saran Samantarat 2015: “Blaw” S’gaw and Pwo Northern Karen Ritual-
common Houses. Doctor of Philosophy (Built Environment), Major Field:
Built Environment, Department of Architecture. Thesis Advisor:
Professor Ornsiri Panin, M. S. 217 pages.
This research aims to find the significant of Karen culture which manifest along their ritual and built environment and discover the situation of “Blaw” the ritual common house in Thailand. Surveying mixed with two qualitative approaches such as ‘Bourdieu's calendar’ for choose both common and personal riuals to analyze by ‘symbolic ritual process analysis’ or ‘Turner’’s ritual process’ to explore 8 community cases in Chiangmai, Tak, Maehongson where its population are subgroup S’gaw[ksw] and Northern Pwo[pww] which 5 cases are new discovery.
The Exploration found new status of 8-16 ‘blaw’ in Karen community in Thailand 2015. Their cultural common criteria as taboos and general aspects for creating ‘blaw’ community are known, how to built ‘blaw’ as architecture aspects and social aspects, no differentiation on S’gaw and Pwo Northern Karen. Particularly case in Mae Torla explored in its first pole and its typical locality in the community as cultural mutation.
The essential result, analyses from wild range of Karen cultural aspects, found their particular significant, so called ‘Form-of-Life’ metaphor. This metaphor manifests in cycling change metaphorical order on Life, Things, and time-span. Every moment of ordinary common ritual-life fit to seasoning landscape. This metaphor unprofaned the special sacred on Karen ordinary life.
/ /
Student’s signature Thesis Advisor’s signature
This paper is a part of production in subgroup research under ‘Holistic Study for the Adaptability in the Different Context of Tai-Lao Ethnic in the Central Region Basin of Thailand’ supported by three members, the Thailand Research Fund, Office of the Higher Education Commission and Kasetsart University. Leaded and belonged to Professor Emeritus Ornsiri Panin on behalf of her ‘2009 Outstanding Professor Research Fund’.
The main idea aims to reinvestigate, review and redefine a few independency documentations, especially, the Siamese chronicles, on ‘Tai-Lao(Phu) /Krang/Klang’ in term of ethnic group same as Laoluangprabang in term of linguistic group by reinterpreted on the chronicles in Rama II-Rama III regimes of Rattanakosin period following former study references, emphasis to proof and choose the most reasonable one from paradoxical two hypothesis about the location of MuangPhuKrang .The first extensively hypothesis consisted that the place is on the left side of Mekong River referred from Rama III Chronicles. The second hypothesis presented, the problematic location probably sitting on the periphery of Phitsanulok precinct.
The result confutes the first and supports the second hypothesis. Matching to Linguistic view, found that Luangphrabang dialect speaking in Phitsanulok, Phetchabun, Loei, from right side of Mekong River to Nan River in Thailand.
Also from Economics History view, found that ‘lac’( from local insect Krang -Laccifer lacca Kerr.-) ,which collected in this area, had been important export goods since early Ayutthaya period. Last supporting data come from ‘Tamniab HuaMuang RC.118-List of Provinces1900’ an official documentary in King RamaV regime insist that ‘MuangPhukang’ existing in Phitsanulok precinct.
According to the historical context, forestry goods collective and merchandise brought ethnoliguistic people settle here and there for a long time. The ethnic vernacular architectural research must overcome the static boundary of Nationality by considerate, new ceiling of relativity theoretical concepts which expand the explanation power for complicated complexity context until now such as Diasporas, cultural identity, ethnicity consciousness from Cultural Study, Ethnicity Anthropology. Most of all, to testify any knowledge for its expired date before use, are necessary.
Key words Location, Tai-Lao, PhuKang/Krang/Klang, Luangprabang-dialect, ethnoliguistic, Rattanakosin chronicles, export forestry goods.
บทคัดย่อ
บทความ “สืบค้นไท-ลาวภูคัง/ครัง/คลั่ง/ครั่งอีกครั้ง:ตำแหน่งแห่งที่, ประวัติศาสตร์ และ กระบวนวิธีวิทยา”นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิจัยเรื่องการศึกษาแบบองค์รวมของการปรับตัวในบริบทใหญ่ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทลาวในลุ่มน้ำภาคกลางประเทศไทย ทุนอุดหนุนวิจัยศาสตราจารย์ดีเด่นปีพ.ศ.๒๕๕๒ โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัยและสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแห่งชาติร่วมกันสนับสนุนทุนอุดหนุนสำหรับศาสตราจารย์ อรศิริ ปาณินท์
สาระสำคัญของบทความเป็นการตรวจสอบนามบัญญัติของกลุ่มชาติพันธุ์ไท-ลาว(ภู)ครั่ง/คลั่ง/คังหรือกลุ่มภาษาลาวสำเนียงหลวงพระบาง ที่พบว่ามีสองแนวสันนิษฐาน และมีประเด็นสำคัญที่พบว่าได้อ้างอิงข้อมูลเอกสารชั้นต้นร่วมกัน การตรวจสอบกระทำโดยวิธีการแกะรอยย้อนศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์เอกสารชั้นต้นเหล่านั้นอีกครั้ง ได้แก่จดหมายเหตุในรัชกาลที่๒สองรายการและจดหมายเหตุในรัชกาลที่ ๓ อีกสองรายการ ทั้งหมดเป็นเอกสารสำเนาคัดจากต้นฉบับจดหมายเหตุสมุดไทยดำโดยได้รับการอนุเคราะห์การค้นคว้าวิจัยจากสำนักหอสมุดแห่งชาติ
ประเด็นสำคัญของข้อสันนิษฐานที่ถูกสงสัยคือ “เมืองภูครั่งเป็นหัวเมืองลาวอยู่ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงที่กองทัพไทยเคยยกไปตั้งมั่นเมื่อครั้งทำสงครามกับเขมรและเวียดนาม” ที่เสนอโดยอ้างจากเอกสารจดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ ร่างตราเจ้าพระยาจักรีตอบเมืองสุพรรณ จศ. ๑๒๐๒ เมื่อตรวจสอบสืบค้นทบทวนกลับไม่ชวนให้เชื่อตามเช่นนั้นได้ ตรงข้ามหลักฐานที่อ้างถึงรวมไปถึงเอกสารเพิ่มเติมอื่นที่เป็นอิสระต่อกันกลับสนับสนุน ข้อสันนิษฐานอีกแนวที่ว่าเมืองภู ครังอยู่ในอาณาบริเวณอาณัติของพิษณุโลกโดยพบข้อความที่เป็นจุดเริ่มต้นแนวสันนิษฐานในจดหมายเหตุรัชกาลที่สอง จ.ศ. ๑๑๗๙
นอกจากนี้ยังพบความสอดคล้องกับข้อสันนิษฐานดังกล่าวจากมุมภาษาศาสตร์ กล่าวคือ ภาษาสำเนียงลาวคังหรือสำเนียงหลวงพระบาง มีความคล้ายคลึงกันระหว่างภาษาลาวในภาคเหนือ ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ แขวงหลวงพระบาง แขวงไชยบุรี ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ ภาษาลาวที่พูดกันในบางส่วนของ เพชรบูรณ์ เลย และ พิษณุโลก ในบริเวณพื้นที่ฝั่งขวาของแม่น้ำโขงถึงแม่น้ำน่านในประเทศไทย
จากมุมประวัติศาสตร์ทรัพยากรก็ได้พบว่าบริเวณข้างต้นในประเทศไทยอันอาจเรียกได้ว่าในอาณัติพิษณุโลกเดิมนี้เป็นพื้นที่จัดหาจัดส่ง คลั่ง/ครั่ง/คัง ทรัพยากรของป่าที่เป็นสินค้าออกสำคัญของสยามในสมัยอยุธยา-ต้นรัตนโกสินทร์ การทบทวนเอกสารยังรวมไปถึงเอกสารทางประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองในรัชกาลที่ห้าคือ “ทำเนียบหัวเมือง รศ.๑๑๘”ที่ก็ได้ระบุถึงเมืองภูครังแขวงเมืองเอกพิษณุโลกไว้ด้วย ต่างก็มีส่วนสนับสนุนให้เกิดความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
เมื่อพิจารณาร่วมกับขอบเขตทางภาษาของวิถีผู้คนที่สลับสับกันซ้อนทับกันไปมาในการตั้งถิ่นฐานและการค้าและการเดินทางในสมัยที่ราชอาณาจักรล้านช้าง-ล้านนาติดต่อถึงกันและกัน เห็นว่าการศึกษาวิจัยเชิงชาติพันธุ์ทางสถาปัตยกรรมซึ่งเป็นกรอบการวิจัยนี้ไม่ควรจินตนาการจากสำนึกขอบเขตแดนประเทศแบบรัฐชาติปัจจุบันหรือด้วยการศึกษารูปแบบเปรียบเทียบเชิงสัมบูรณ์แต่เพียงมุมมองเดียว ทว่าจำเป็นต้องทำความเข้าใจผ่านมุมอื่นเชิงสัมพัทธ์ที่ มีอำนาจในการอธิบายปรากฏการณ์สังคมใน ปัจจุบันได้ด้วย เช่น ชาติพันธุ์ภาษา,วัฒนธรรมศึกษาและมานุษยวิทยา อาทิ ทฤษฏีการผลิตสร้างอัตตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและการพลัดถิ่น และทฤษฎีสำนึกทางชาติพันธุ์ เป็นต้น การวิจัยทบทวนความรู้ก่อนนำไปใช้ว่ายังไม่หมดอายุเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็น
คำสำคัญ:
ตำแหน่งแห่งที่, ไท-ลาว, คัง-คลั่ง-ครั่ง-ภูครัง, สำเนียงหลวงพระบาง ,ชาติพันธุ์ภาษา, จดหมายเหตุต้นรัตนโกสินทร์,ของป่าสินค้าออก
นกนางแอ่นกินรัง เป็นสิ่งมีชีวิตในภาคพื้นอุษาคเนย์ที่ได้ประกอบสร้างสังคมแถบนี้ด้วยสรรพคุณความเชื่อด้านอาหารและยาที่สืบทอดกันมายาวนาน โดยมีถิ่นที่เกาะพักอาศัยทำรังภายในซอกหลืบถํ้าเขาหินปูนที่อยู่ในเกาะต่างๆ ในอ่าวไทยและในบริเวณปากแม่นํ้า ซึ่งเป็นที่อยู่แหล่งอาหารของนกนางแอน่ ในธรรมชาติ ตjอมาไดเ้กิดถิ่นที่อยูใ่หมjของนกนางแอ่นกินรังที่เข้าอาศัยในอาคารที่มนุษย์สร้างขึ้นในเขตชนบทและเมือง และมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปรากฏการณ์นี้ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ทั้งทางนิเวศวิทยา สังคม และเศรษฐกิจต่อชุมชนที่มีนกเข้าอาศัยเหล่านั้น
บทความมุ่งศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเลี้ยงนกนางแอ่นกินรังที่ปรากฏในภูมิทัศน์วัฒนธรรมของพื้นที่คาบสมุทรของไทย ภูมิทัศน์ในการเลี้ยงนกนางแอ่นกินรังในพื้นที่มีความสัมพันธ์เชิงระบบ และแนวทางในการลดผลกระทบและส่งเสริมการเลี้ยงนกนางแอ่นให้เกิดความยั่งยืน โดยอาศัยขอ้ มูลปฐมภูมิและทุติยภูมิจากการวิจัยเรื่องภูมิทัศนว์ ัฒนธรรมลุม่ น้ำเพชรบุรีซึ่งเปน็ โครงการวิจัยย่อยในกลุ่ม วิจัยโครงการการศึกษาเพื่ออนุรักษแ์ ละพัฒนาสิ่งแวดล้อมสรรคส์ร้างลุ่มน้ำเพชรบุรี อำนวยการชุดโครงการโดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ อรศิริ ปาณินท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเลี้ยงนกนางแอ่นจากอดีตถึงปัจจุบันได้พัฒนา ขยายสถานะของคุณค่าที่มีต่อมนุษย์จากการเป็นเพียงสินค้าที่มีคุณค่าในทางเศรษฐกิจและกลายมาเป็นสินค้าสัญญะทางวัฒนธรรม แต่อย่างไรก็ตามการเลี้ยงนกนางแอ่นกินรังก็ยังอาจเป็นองค์ประกอบที่ช่วยสร้างความสมดุลทางนิเวศวิทยา เศรษฐกิจท้องถิ่น ซึ่งคุณค่าด้านต่างๆของนกนางแอ่นกินรังและการเลี้ยงนกนางแอ่นกินรังนั้น มีความสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อเนื่องซึ่งกันและกัน หากสิ่งต่างๆ เหล่านี้ได้รับการจัดการที่เหมาะสม การเลี้ยงนกนางแอ่นก็จะเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน
Urban Farming of Edible-nest Swiftlet on Refl exive Cultural Landscape
Saran Samantarat, Ornaim Tangkij-ngamwong, Ass.Prof. Sani Limthongsakul, Olarn Charaenchai
Faculty of Architecture, Kasetsart University
Pawin Sirisalee (M.LA.)
TA., Faculty of Architecture, Thamasart University
Edible-nest swiftlet (Collocalia fuciphaga), a mysterious bird of the World History, lives in Southeast Asia. Its famous nest has been announced as an ambrosial medical food.
Domesticating in caves near the river and sea, the edible-nest swiftlet initially sustain its life by those enormous insects found in the local habitat. Later, there was new habitat unintentionally emerged from human shelters in delta town area. This phenomenon has both impact and profit to each place in terms of economic, sociological and ecological aspects. This paper is interested in several relativity of sheltering edible-nest swiftlet in deep Gulf of Thailand and system dynamic of cultural landscape approached both pros and cons with sustainability. Collaborative secondary data was obtained from World crisis El nino in South-East Asia. Primary data was collected from a sub group research “Cultural Landscape in Phetchaburi Basin” under the main title called “The Study for Conservation and Development of the Built Environment in Phetchaburi Basin”, granted by National Research Council of Thailand 2007 and directed by Emeritus Professor Ornsiri Panin, Kasetsart University.
Edible-nest swiftlet farming developed from time to time, from economic commodity to a cultural agent. In the mean time, this farming business can become an interesting factor to balance the threesome of local economy, sociology, and
ecology which leads to sustainable development. This knowledge, if properly managed, will lead to beneficial win-win business and sustainable development for both human and nature.
Metaphorically, if a Karen common house infer to body of productive of a female wife owner , a stove at the heart of the house infer to her productive womb which reborn Karen culture and ethnic identity.This knowledge induce new angle to evaluate vernacular architecture and built environment as usual.
บางครั้งรายละเอียดสิ่งของในชีวิตประจำวันก็อาจให้ความหมายในส่วนสำคัญของวัฒนธรรมหนึ่งได้ บทความนี้เป็นผลการศึกษาทางด้านภูมิสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของกะเหรี่ยงสะกอร์ที่เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพระหว่างปี พ.ศ.2551-2552 และทบทวนเอกสารสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในพื้นที่อันกว้างขวางของการตั้งถิ่นฐานกะเหรี่ยงได้แก่ภาคเหนือภาคตะวันตกและภาคใต้ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2528 ชี้ว่า แม่เตาไฟและเครื่องใช้-สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างไม้ไผ่ของกะเหรี่ยงสะกอร์ดั้งเดิมนั้นไม่เพียงแต่ตอบสนองต่อความจำเป็นพื้นฐานเท่านั้น แต่ยังบรรจุไปด้วยสัญลักษณ์และความหมายของหลักการใหญ่ของวัฒนธรรมกะเหรี่ยงสะกอร์ อุปมัยว่าหากบ้านเรือนคือเรือนร่างของสตรีกะเหรี่ยงสกอร์ในวัยเจริญพันธุ์แล้ว เตาไฟในบ้านก็เปรียบเสมือนมดลูกอันจะให้กำเนิดสืบทอดทั้งวัฒนธรรมและอัตตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ขององค์ประธานหญิง ความรู้นี้ทบทวนและย้อนแย้งมุมมองเดิมที่ใช้ประเมินคุณค่าทางสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างโดยทั่วไป
บทคัดย่อ
บทความนี้เกิดขึ้นเพื่อเสนอวิธีการจัดวางแนวคิดองก์รวมของทฤษฎีสหสัมพันธ์วิชาโดยผ่านการใช้กราฟฟิกไดอะแกรม เรียกว่า ไดอะแกรมพลวัตแนวคิดองก์รวม อันจะช่วยให้เข้าใจแนวความคิดต่างๆ ผ่านตำแหน่งแห่งที่ของบริบทใน “รูป” ช่วยให้เห็นตำแหน่งเชิงสัมพัทธ์ของแนวคิดเหล่านั้นในแนวกรอบร่วมมิติโดยความหมายเชิงสัมพัทธ์ จะทำให้มีความเข้าใจมโนทัศน์นามธรรมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น แนวคิดสำคัญที่เลือกมาจัดวางได้แก่ แนวคิดสัมพัทธ์ภาพทั่วไปทางฟิสิกส์ แนวคิดสนามทางสังคมวิทยาของบูร์ดิเยอ แนวคิดทางมานุษยวิทยาละคอนของกอฟมัน และแนวคิดเกี่ยวกับพื้นที่สังคมของเลอแฟบวร์ เป็นต้น
ไดอะแกรมยังใช้เป็นเครื่องมือตรวจสอบทำความเข้าใจร่วมกัน ระหว่างวิชาการต่างสาขาหรือสำหรับนักวิชาการแต่ละคนที่จะวางตำแหน่งของทฤษฎีต่างๆ ของแต่ละกระบวนวิชาการร่วมกัน อันอาจมีคุณต่อการศึกษาวิจัยในวิชาการต่างๆ โดยรวม อาทิเช่น ลดการภาระที่ซ้ำซ้อนกัน นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือช่วยอ่านทำความเข้าใจ “ภูมิทัศน์ทางวิชาการ” จึงเสริมสร้างความสามารถในการทำงานวิชาการ ในกระบวนทัศน์แบบองก์รวมของสังคมในท้ายสุด
Abstract
This paper represent of how to positioning several notions or main concepts of several subject which called the holistic conceptualized diagram (HCD.) the diagram becomes a heuristic tool for more understanding of those ideals by relatively positioning in configuration. For examples in diagram are Einstein’s General Relativity Theory, Bourdieu’s Field Theory, Goffman’s Dramaturgy, and Lefebvre’s Production of Space and so on.
HCD is checking instruments for those interdisciplinary subjects by allow any academic individual to put down the positioning of each studied theory and see each others. This process might be able to be an interpreted heuristic tool for Academics Landscape reading that support any holistic paradigm studies
บทคัดย่อ
ในฐานะพาหะทางวัฒนธรรม องค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างบางประการ ได้แก่ ประตู, บันได, แม่เตาไฟ, เสาแรก, กระด้ง และตาแหลว เป็นต้น มีความชัดเจนในการบรรจุและการถ่ายทอดความหมายทางวัฒนธรรมมากกว่าองค์ประกอบอื่น ๆ และปรากฏอยู่ทั้งในกลุ่มไท-ลาวทางตะวันออก และกะเหรี่ยงทางตะวันตกของคาบสมุทร ไม่ใช่เพียงแต่ด้านประโยชน์การใช้สอยเท่านั้น แต่ในแง่การเป็นพาหะของความหมายสำคัญทางวัฒนธรรมหรือจักรวาลวิทยา ภายใต้บริบทของความแตกต่างหลากหลายของภาษาวัฒนธรรมแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย
บทความนี้เป็นผลการศึกษาเปรียบเทียบวัตถุพาหะเหล่านั้นโดยคัดสรรค์ผลการศึกษาจากการวิจัยเรื่อง ‘พลัดถิ่นที่ย้อนแย้ง’ ซึ่งศึกษากลุ่มชาติพันธุ์พลัดถิ่นไท-ลาวสำเนียงหลวงพระบาง หรือลาวคังในกลุ่มไท-ลาว ในตระกูลภาษาไต-กะได ผนวกกับทบทวนเอกสารทุติยภูมิของไทดำซึ่งมีความเป็นมาดั้งเดิมเช่นเดียวกับกะเหรี่ยงเพื่อเป็นตัวแทนในตระกูลภาษาไต-กะได และอีกส่วนจากโครงการวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเรื่อง “ ‘เบลาะ/ปลัง’ โรงเรือนพิธีกรรมส่วนรวมของกะเหรี่ยงสะกอร์และกะเหรี่ยงโปว์สำเนียงเหนือ” ซึ่งศึกษากะเหรี่ยง ตัวแทนในตระกูลภาษาทิเบโต-เบอร์มัน โดยเชื่อว่าความรู้เป็นสิ่งสัมพัทธ์ งานวิจัยทั้งสองรวมถึงบทความนี้ใช้ทฤษฎีวิธีวิทยาหลัก ได้แก่ กระบวนการพิธีกรรมปริวัตรสามแบบเทอร์เนอร์ ส่วนจิตสำนึกพลัดถิ่นเป็นเครื่องมือรอง
ผลศึกษาเปรียบเทียบชี้ให้เห็นถึงตำแหน่งแห่งที่, กระบวนรูปแบบปฏิบัติการ และความหมายพิธีกรรมของสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างสัมพัทธ์ร่วมกันต่างบรรจุกระบวนการกำหนดสร้างและถ่ายทอดความหมาย ทั้งที่มีร่วมกันและแตกต่างกันของจักรวาลวิทยาในแต่ละกลุ่มวัฒนธรรม โดยจักรวิทยาแบบต้นไม้ความรู้ปรากฏชัดในกลุ่มไท-ลาวและกะเหรี่ยง ส่วนจักรวาลวิทยาแบบต้นไม้แห่งชีวิตปรากฏในกลุ่มกระเหรี่ยง ชวนให้ทบทวนเสาหลักความคิดสถาปัตยกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง การศึกษาทบทวนร่วมตัวแทนในสามตระกูลภาษาที่ยังคงเหลือ โดยจะเปิดความเข้าใจร่วมใหม่ของภูมิทัศน์วัฒนธรรมและภูมิทัศน์ทางวิชาการของภูมิภาค
Abstract
As cultural meaning carriers, some built environment artifacts have its initial value for cultural code transmitting more than others as door, stair, hearth, first pillar, kradong, talaew and so on. Those same aspects used both in Tai and Karen, not only by its instrumental meaning, but also by its cultural signification, among cultural-dialectic diversity in South-East Asia context.
This paper aims to present the relatively comparison beween Tai and Karen cosmology. On Tai side, data from a Lungprabang dialect Tai-Lao research “Disaporas Paradox” gathers with rich literature review data from Tai Dam adjusting the origin point to indigeneous Karen represent Tai-Kadai language family. On Karen side, selected parts of Ph.D. dissertation “‘Blaw’ S’gaw and Pwo Northern Karen Ritual-common Houses” took place as representative of Tibeto-Burman language family. Both researchs and this paper, entrusted in relativism of knowledge. Victor Turner’s ‘Ritual Process Analysis’ and its triangulation oporated as major methodology instrument, and minor used ‘Diasporas Consciousness’ take place.
Betwixt, the locality, the process pattern, and the significance, those aspects reveal that both Tai and Karen have common cosmology of ‘Tree of Knowledge’. However Karen manifest in ‘Tree of Life’cosmology with equilibrium. The results lean to revise some pillar in Architecture foundation. The other three language-families might study more relativism for more understanding to open up new understanding of academic cultural landscape of region.
KEYWORDS
สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง; จักรวาลวิทยา; ไต; ไทดำ; กะเหรี่ยง; สกอร์; ต้นไม้แห่งชีวิต; ต้นไม้แห่งความรู้; ขวัญ; แม่เตาไฟ; ตาแหลว; กระด้ง; กระบวนการพิธีกรรม; สัมพัทธภาพ; built environment; cosmology; Tai; TaiDam; Karen; S’gaw; Tree of Life
This article aims to present fields data within architectural studies of “Blaw” and other Karenic cultural landscape architectures, founds in 8 communities in Thailand since 2007 , to fulfill knowledge according to Karenic Founder’s Cult in narrative details.
The distributed area along Thai-Mynmar border line of the people in Karen culture is approximately same size as of Democratic People's Republic of Laos. As largest ethnic group in Thailand, they settled here for thousands years before main population today Thai-Lao groups. They sustains against the political forces and economic changing along time of history. Their significant aspects inside the culture become the same root of political conscious of the Country as living archeological data on same geographical context as well.
Most of them have both rituals and agents with one leader fit with natural life-cycle of rain agriculture society in mountainous area. However some are developing through development discourse in two directions, escape and negotiation.
New information also stresses in the deputy chiefs on how they praxis to keep the Founder’s Cult system, as a representative of sub ethno linguistic group and clan, to sustain Karenic community system before separation of sub ethno-linguistic in their history.
Finally, it recommend the Founder’s Cult system as a liminal knowledge in gap between community and society (Gemeinschaft und Gesellschaft) in Sociology. The HiKho, BlawKho chief of the system may understand as archeology personification of “Proto-kingship” on its development in Historical Politics of South East Asia region.
Key Words: Founder’s Cult, Charismatic, Pre-kingship, Blaw common ritual house, Blaw Kho headman, Blaw Khor elders, Karenic.
บทคัดย่อ
บทความนี้ต้องการเสนอข้อมูลภาคสนามใหม่ที่ได้รับจากการศึกษา “เบลาะ”และภูมิทัศน์สถาปัตยกรรมในวัฒนธรรมกะเหรี่ยงตั้งแต่ พ.ศ. 2550 ของแปดชุมชนในประเทศไทยโดยเฉพาะจากเรื่องราวของผู้นำและคณะผู้นำชุมชนเพื่อเติมเต็มองค์ความรู้เรื่องลัทธิผู้ก่อตั้ง ทั้งนี้เป็นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
วัฒนธรรมกะเหรี่ยงเป็นวัฒนธรรมที่มีประชากรใหญ่มีพื้นที่ตั้งถิ่นฐานบริเวณชายแดนไทย-พม่ามีขนาดใกล้เคียงกับพื้นที่สปป.ลาว และ มีประวัติการตั้งถิ่นฐานดั้งเดิมยาวนานกว่ากลุ่มชาติพันธุ์ ไท-ลาว เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศที่เผชิญกับแรงกดดันจากรัฐและทุนมาตลอด ความปรับตัวได้อย่างต่อเนื่องไม่ขาดสายของวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับวงจรสภาวะธรรมชาติเฉพาะถิ่นทางภูมิศาสตร์นี้จึงแฝงด้วยความหมายสำคัญที่อาจช่วยให้เข้าใจรากเหง้าทางสังคมการเมืองเสมือนหลักฐานทางโบราณคดีของพัฒนาการของรัฐในภูมิภาค
ในทุกกรณีศึกษามีปฏิบัติการพิธีกรรมและผู้นำคณะผู้อาวุโสพิธีกรรมซึ่งเป็นระบอบวัฒนธรรมอันสอดคล้องกับระบบวัฏจักรธรรมชาติในสังคมเกษตรกรรมน้ำฝนในเขตพื้นที่หุบเขา อย่างไรก็ตามก็มีบางชุมชนที่กำลังเผชิญหน้ากับวาทกรรมการพัฒนาโดยมีทิศทางทั้งที่หลบหนีเลิกรื้อและการต่อรอง
นอกจากนี้ยังมีข้อเท็จจริงใหม่ที่เสนอถึงตำแหน่งรองผู้นำ ฮิข่อ, เบลาะข่อ ซึ่งมีความสำคัญทั้งในการสืบรักษาระบบลัทธิผู้ก่อตั้งและ บทบาทการเป็นตัวแทนของกลุ่มประชากรย่อยกลุ่มภาษาและกลุ่มสายตระกูล ทำให้สืบได้ว่าระบบลัทธิผู้ก่อตั้งกะเหรี่ยงมีมาก่อนการวิวัฒนาการแยกกลุ่มชาติพันธุ์ภาษาในประวัติศาสตร์
บทความให้ข้อเสนอว่า ระบบลัทธิผู้ก่อตั้งมีความสำคัญในการทำความเข้าใจรอยต่อระหว่างความเป็นชุมชนกับความเป็นสังคมในวิชาสังคมวิทยา ตำแหน่งผู้นำของระบบที่เรียกว่า ฮิโข่, เบลาะโข่ ก็ช่วยทำความเข้าใจ โบราณคดีก่อนมีระบบกษัตริย์ของสังคมที่พัฒนาการขึ้นในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในแง่ประวัติศาสตร์รัฐศาสตร์
คำสำคัญ: ลัทธิผู้ก่อตั้ง, บารมี, ก่อนระบบกษัตริย์, เบลาะโรงเรือนพิธีกรรมส่วนรวม, เบลาะโข่ ผู้นำพิธีกรรม, เบลาะข่อ คณะผู้อาวุโส, กะเหรี่ยง
บทคัดย่อ: บทความต่อไปนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเชิงบูรณาการจำนวนหนึ่งได้แก่-ภูมิทัศน์วัฒนธรรมกับระบบนิเวศในพื้นที่ลุ่มน้ำเพชรบุรี ซึ่งเป็นโครงการย่อยในงานเรื่อง พลวัตสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างลุ่มน้ำเพชรบุรีทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติปี๒๕๕๑ -สันติภาพและความยั่งยืนลุ่มน้ำท่าจีนแม่กลองทุนมหาวิทยาลัยมหิดล- และการศึกษาวิจัยเคหะพื้นถิ่นแบบบูรณาการเพื่อการพึ่งพาตนเองโดยการสนับสนุนจากการเคหะแห่งชาติ๒๕๕๑ และการวิจัยเรือ่งการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการพัฒนาชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงในเขตพื้นที่สถานีวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๒๕๕๑ โดย เขียนขึ้นเพื่อเสนอต่อการประชุมทางวิชาการ CDAST2008
บทความนี้กล่าวถึง คุณลักษณ์ทางภูมิศาสตร์ประวัติศาสตร์นิเวศวิทยาสังคมศาสตร์เศรษฐศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ของตาลโตนด หรืออีกนัยหนึ่ง ภูมิทัศน์วัฒนธรรมของตาลโตนด ในช่วงเวลาปัจจุบันที่มีวิกฤตการณ์ด้านพลังงานของโลก
บทความเสนอแนะให้ขยายการปลูกตาลโตนดในภูมิทัศน์ถนนทางหลวงและการปลูกแปลงขนาดใหญ่เพื่อปรับปรุงที่ดินและพัฒนาการอย่างยั่งยืนเชิงบูรณาการ นอกจากนี้ยังเสนอให้ทบทวนการส่งเสริมการปลูกยูคาลิปตัสในที่นาของรัฐบาลไทยในปีพ.ศ.๒๕๕๑
Abstract: This statement is a part of several intrigated researches in charged by author such as -Cultural Landscape and Eco system in Petchburi Basin in Dynamic of Built Environment in Petchburi Watershed Basin, funded by NRCT2008- Peace and Sustainble in Thachin-Maeklong river basin,by Mahidol University,- Locally – Based Housing Development: Integrated Approach Towards Sustainability ,by NHA 2008
The objectives is value-added assess of Palmyra palm cultural landscape, which wide LCA in several dimensions, especially, in becoming time of world energy crisis.
The conclusion suggest about large scale Palmyra Palms cultivating in each part of the country to maintain of integrative sufficiently sustainable which prepare long-lasting self-sufficiency for both entrepreneur and local authority and also criticize through Eucalyptus in paddle field presented recently by Thailand Government.
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะ นำเสนอ กระบวนการศึกษาแบบภูมิทัศน์วัฒนธรรมย้อนคิดเป็นผลจากการศึกษาพัฒนาทฤษฎีเฉพาะถิ่น (grounded theory) เพื่อสร้างความเข้าใจสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างเชิงบูรณาการ องค์รวมโดยมีการค้นคว้าจากหลายสาขาวิชา เช่น ธรณีสัญฐาน,นิรุกติศาสตร์, สังคมศาสตร์,รัฐศาสตร์ ฯลฯ ซึ่งรวมแล้วอาจเรียกว่าอยู่ในกระบวนทัศน์การค้นหาความรู้แบบ “หลังสมัยใหม่” โดยมีแก่นที่การบูรณการชุดความรู้ของบูรดิเยอร์คือ วงการ ,นิจกรรม,การสะท้อนย้อนคิด,และตัวแทน เป็นรากฐานสำคัญ ตรวจสอบร่วมไปกับประสบการณ์วิจัยภาคสนามแนวทาง ภูมิทัศน์วัฒนธรรม และ สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่ได้ทำไปแล้ว
ทฤษฎีรวมหน่วยพื้นฐานทางวิชาการสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างนี้สามาถนำไปอธิบายกลไกเชิงพลวัตของเหตุปัจจัยอิทัปปัจยตา ในสภาวะแวดล้อมสรรค์สร้างที่มีความเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอหรืออนิจจลักษณ์ในสัจธรรม โดยแสดงเหตุปัจจัยอย่างสรุปสามประการหากใช้นิยามวิชาการทางสังคมได้แก่ ตัวแทน, ปฏิบัติการ และวงการ หรือหากใช้นิยามทางสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างก็จะได้แก่ มนุษย์,สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง และ เงื่อนไขทางสังคมวัฒนธรรมเป็นต้น รวมไปถึง สาขาวิชาการอื่นๆที่เกี่ยวข้องด้วย
การสาธิตตัวอย่างถูกรวบรวมจาก สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างในชีวิตประจำวันของผู้เขียนในประเทศไทย ในมุมมองประวัติศาสตร์สัมพัทธ์ ได้แก่ เพลงลูกทุ่ง รากคำไทยที่เกี่ยวเนื่อง และ ผลสรุปข้อค้นพบข้อวินิจฉัยจากประสบการณ์ การวิจัยภาคสนาม จากการวิจัยหลายชิ้น โดยทุนสนับสนุนโครงการวิจัย จากแหล่งทุนต่างๆในหลายกาลเทศะระหว่างปี พ.ศ.2548-2552
การวิจัยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาสองประการคือ เพื่อสำรวจตรวจสอบสถานะ ณ ปัจจุบันของโรงเรือนพิธีกรรมส่วนรวมกะเหรี่ยง “เบลาะ” ในประเทศไทย และเพื่อความเข้าใจความหมายสำคัญทางวัฒนธรรมกะเหรี่ยงจาก “เบลาะ” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบผสมและเชิงสำรวจโดยใช้กรอบแนวคิดวิธีวิทยาสองประการได้แก่การวิเคราะห์สัญลักษณ์กระบวนการพิธีกรรมและใช้กรอบวัฏจักรปฏิทินรอบปี/ช่วงชีวิต ในการศึกษาทั้งระดับขนาดชุมชนและระดับขนาดบุคคลในเหตุการณ์พิธีกรรมที่เป็นตัวแทนของตำแหน่งเวลาสำคัญ กรณีศึกษาชุมชนกะเหรี่ยงที่มี “เบลาะ” ในประเทศไทยทั้ง 8 กรณีศึกษาที่สำรวจพบตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่, ตาก และ แม่ฮ่องสอน กลุ่มประชากรเป็นสำเนียงโปว์ และ สะกอร์ ซึ่งมี 5 แห่งเป็นกรณีที่ค้นพบใหม่
ผลการสำรวจได้พบถึงสถานะการมีอยู่ของชุมชน “เบลาะ”ที่มีอยู่ระหว่าง 8-16 แห่งในประเทศไทยปัจจุบัน ทราบลักษณะเฉพาะเกณฑ์ทั่วไปได้แก่ คติความเชื่อข้อห้ามวิธีปฏิบัติ รูปแบบวัสดุและการวางตำแหน่งในผังบริเวณ และ ลักษณะพิเศษที่แตกต่างจากเกณฑ์ทั่วไปที่พบของชุมชน “เบลาะ”แม่ตอละ ในผังบริเวณและเสาเอก ผลการศึกษาเห็นลักษณะทั่วไปของเบลาะไม่มีความแตกต่างกันจากเงื่อนไขกลุ่มชาติพันธุ์ทั้งสองกลุ่ม
ผลการวิเคราะห์พบว่ามีลักษณะเฉพาะของการใช้สัญลักษณ์ระหว่าง ชีวิต, ช่วงเวลาและสิ่งต่างๆรอบตัวอย่างต่อเนื่องในชีวิตประจำวันและพิธีกรรมทั้งในเบลาะและส่วนอื่นๆอย่างกว้างขวาง การใช้สัญลักษณ์ดังกล่าวเรียกว่าการอุปลักษณ์ช่วงชีวิตมีลักษณะความธรรมดาสามัญกับความพิเศษซ้อนสลับอยู่ด้วยกันมีความเฉพาะตัวแตกต่างจากการอุปลักษณ์ในวัฒนธรรมหลักทั่วไปของไทย
/ /
ลายมือชื่อนิสิต ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
Saran Samantarat 2015: “Blaw” S’gaw and Pwo Northern Karen Ritual-
common Houses. Doctor of Philosophy (Built Environment), Major Field:
Built Environment, Department of Architecture. Thesis Advisor:
Professor Ornsiri Panin, M. S. 217 pages.
This research aims to find the significant of Karen culture which manifest along their ritual and built environment and discover the situation of “Blaw” the ritual common house in Thailand. Surveying mixed with two qualitative approaches such as ‘Bourdieu's calendar’ for choose both common and personal riuals to analyze by ‘symbolic ritual process analysis’ or ‘Turner’’s ritual process’ to explore 8 community cases in Chiangmai, Tak, Maehongson where its population are subgroup S’gaw[ksw] and Northern Pwo[pww] which 5 cases are new discovery.
The Exploration found new status of 8-16 ‘blaw’ in Karen community in Thailand 2015. Their cultural common criteria as taboos and general aspects for creating ‘blaw’ community are known, how to built ‘blaw’ as architecture aspects and social aspects, no differentiation on S’gaw and Pwo Northern Karen. Particularly case in Mae Torla explored in its first pole and its typical locality in the community as cultural mutation.
The essential result, analyses from wild range of Karen cultural aspects, found their particular significant, so called ‘Form-of-Life’ metaphor. This metaphor manifests in cycling change metaphorical order on Life, Things, and time-span. Every moment of ordinary common ritual-life fit to seasoning landscape. This metaphor unprofaned the special sacred on Karen ordinary life.
/ /
Student’s signature Thesis Advisor’s signature
This paper is a part of production in subgroup research under ‘Holistic Study for the Adaptability in the Different Context of Tai-Lao Ethnic in the Central Region Basin of Thailand’ supported by three members, the Thailand Research Fund, Office of the Higher Education Commission and Kasetsart University. Leaded and belonged to Professor Emeritus Ornsiri Panin on behalf of her ‘2009 Outstanding Professor Research Fund’.
The main idea aims to reinvestigate, review and redefine a few independency documentations, especially, the Siamese chronicles, on ‘Tai-Lao(Phu) /Krang/Klang’ in term of ethnic group same as Laoluangprabang in term of linguistic group by reinterpreted on the chronicles in Rama II-Rama III regimes of Rattanakosin period following former study references, emphasis to proof and choose the most reasonable one from paradoxical two hypothesis about the location of MuangPhuKrang .The first extensively hypothesis consisted that the place is on the left side of Mekong River referred from Rama III Chronicles. The second hypothesis presented, the problematic location probably sitting on the periphery of Phitsanulok precinct.
The result confutes the first and supports the second hypothesis. Matching to Linguistic view, found that Luangphrabang dialect speaking in Phitsanulok, Phetchabun, Loei, from right side of Mekong River to Nan River in Thailand.
Also from Economics History view, found that ‘lac’( from local insect Krang -Laccifer lacca Kerr.-) ,which collected in this area, had been important export goods since early Ayutthaya period. Last supporting data come from ‘Tamniab HuaMuang RC.118-List of Provinces1900’ an official documentary in King RamaV regime insist that ‘MuangPhukang’ existing in Phitsanulok precinct.
According to the historical context, forestry goods collective and merchandise brought ethnoliguistic people settle here and there for a long time. The ethnic vernacular architectural research must overcome the static boundary of Nationality by considerate, new ceiling of relativity theoretical concepts which expand the explanation power for complicated complexity context until now such as Diasporas, cultural identity, ethnicity consciousness from Cultural Study, Ethnicity Anthropology. Most of all, to testify any knowledge for its expired date before use, are necessary.
Key words Location, Tai-Lao, PhuKang/Krang/Klang, Luangprabang-dialect, ethnoliguistic, Rattanakosin chronicles, export forestry goods.
บทคัดย่อ
บทความ “สืบค้นไท-ลาวภูคัง/ครัง/คลั่ง/ครั่งอีกครั้ง:ตำแหน่งแห่งที่, ประวัติศาสตร์ และ กระบวนวิธีวิทยา”นี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาวิจัยเรื่องการศึกษาแบบองค์รวมของการปรับตัวในบริบทใหญ่ของกลุ่มชาติพันธุ์ไทลาวในลุ่มน้ำภาคกลางประเทศไทย ทุนอุดหนุนวิจัยศาสตราจารย์ดีเด่นปีพ.ศ.๒๕๕๒ โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัยและสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแห่งชาติร่วมกันสนับสนุนทุนอุดหนุนสำหรับศาสตราจารย์ อรศิริ ปาณินท์
สาระสำคัญของบทความเป็นการตรวจสอบนามบัญญัติของกลุ่มชาติพันธุ์ไท-ลาว(ภู)ครั่ง/คลั่ง/คังหรือกลุ่มภาษาลาวสำเนียงหลวงพระบาง ที่พบว่ามีสองแนวสันนิษฐาน และมีประเด็นสำคัญที่พบว่าได้อ้างอิงข้อมูลเอกสารชั้นต้นร่วมกัน การตรวจสอบกระทำโดยวิธีการแกะรอยย้อนศึกษาเอกสารทางประวัติศาสตร์เอกสารชั้นต้นเหล่านั้นอีกครั้ง ได้แก่จดหมายเหตุในรัชกาลที่๒สองรายการและจดหมายเหตุในรัชกาลที่ ๓ อีกสองรายการ ทั้งหมดเป็นเอกสารสำเนาคัดจากต้นฉบับจดหมายเหตุสมุดไทยดำโดยได้รับการอนุเคราะห์การค้นคว้าวิจัยจากสำนักหอสมุดแห่งชาติ
ประเด็นสำคัญของข้อสันนิษฐานที่ถูกสงสัยคือ “เมืองภูครั่งเป็นหัวเมืองลาวอยู่ฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงที่กองทัพไทยเคยยกไปตั้งมั่นเมื่อครั้งทำสงครามกับเขมรและเวียดนาม” ที่เสนอโดยอ้างจากเอกสารจดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ ร่างตราเจ้าพระยาจักรีตอบเมืองสุพรรณ จศ. ๑๒๐๒ เมื่อตรวจสอบสืบค้นทบทวนกลับไม่ชวนให้เชื่อตามเช่นนั้นได้ ตรงข้ามหลักฐานที่อ้างถึงรวมไปถึงเอกสารเพิ่มเติมอื่นที่เป็นอิสระต่อกันกลับสนับสนุน ข้อสันนิษฐานอีกแนวที่ว่าเมืองภู ครังอยู่ในอาณาบริเวณอาณัติของพิษณุโลกโดยพบข้อความที่เป็นจุดเริ่มต้นแนวสันนิษฐานในจดหมายเหตุรัชกาลที่สอง จ.ศ. ๑๑๗๙
นอกจากนี้ยังพบความสอดคล้องกับข้อสันนิษฐานดังกล่าวจากมุมภาษาศาสตร์ กล่าวคือ ภาษาสำเนียงลาวคังหรือสำเนียงหลวงพระบาง มีความคล้ายคลึงกันระหว่างภาษาลาวในภาคเหนือ ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ แขวงหลวงพระบาง แขวงไชยบุรี ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ ภาษาลาวที่พูดกันในบางส่วนของ เพชรบูรณ์ เลย และ พิษณุโลก ในบริเวณพื้นที่ฝั่งขวาของแม่น้ำโขงถึงแม่น้ำน่านในประเทศไทย
จากมุมประวัติศาสตร์ทรัพยากรก็ได้พบว่าบริเวณข้างต้นในประเทศไทยอันอาจเรียกได้ว่าในอาณัติพิษณุโลกเดิมนี้เป็นพื้นที่จัดหาจัดส่ง คลั่ง/ครั่ง/คัง ทรัพยากรของป่าที่เป็นสินค้าออกสำคัญของสยามในสมัยอยุธยา-ต้นรัตนโกสินทร์ การทบทวนเอกสารยังรวมไปถึงเอกสารทางประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองในรัชกาลที่ห้าคือ “ทำเนียบหัวเมือง รศ.๑๑๘”ที่ก็ได้ระบุถึงเมืองภูครังแขวงเมืองเอกพิษณุโลกไว้ด้วย ต่างก็มีส่วนสนับสนุนให้เกิดความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน
เมื่อพิจารณาร่วมกับขอบเขตทางภาษาของวิถีผู้คนที่สลับสับกันซ้อนทับกันไปมาในการตั้งถิ่นฐานและการค้าและการเดินทางในสมัยที่ราชอาณาจักรล้านช้าง-ล้านนาติดต่อถึงกันและกัน เห็นว่าการศึกษาวิจัยเชิงชาติพันธุ์ทางสถาปัตยกรรมซึ่งเป็นกรอบการวิจัยนี้ไม่ควรจินตนาการจากสำนึกขอบเขตแดนประเทศแบบรัฐชาติปัจจุบันหรือด้วยการศึกษารูปแบบเปรียบเทียบเชิงสัมบูรณ์แต่เพียงมุมมองเดียว ทว่าจำเป็นต้องทำความเข้าใจผ่านมุมอื่นเชิงสัมพัทธ์ที่ มีอำนาจในการอธิบายปรากฏการณ์สังคมใน ปัจจุบันได้ด้วย เช่น ชาติพันธุ์ภาษา,วัฒนธรรมศึกษาและมานุษยวิทยา อาทิ ทฤษฏีการผลิตสร้างอัตตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและการพลัดถิ่น และทฤษฎีสำนึกทางชาติพันธุ์ เป็นต้น การวิจัยทบทวนความรู้ก่อนนำไปใช้ว่ายังไม่หมดอายุเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็น
คำสำคัญ:
ตำแหน่งแห่งที่, ไท-ลาว, คัง-คลั่ง-ครั่ง-ภูครัง, สำเนียงหลวงพระบาง ,ชาติพันธุ์ภาษา, จดหมายเหตุต้นรัตนโกสินทร์,ของป่าสินค้าออก
นกนางแอ่นกินรัง เป็นสิ่งมีชีวิตในภาคพื้นอุษาคเนย์ที่ได้ประกอบสร้างสังคมแถบนี้ด้วยสรรพคุณความเชื่อด้านอาหารและยาที่สืบทอดกันมายาวนาน โดยมีถิ่นที่เกาะพักอาศัยทำรังภายในซอกหลืบถํ้าเขาหินปูนที่อยู่ในเกาะต่างๆ ในอ่าวไทยและในบริเวณปากแม่นํ้า ซึ่งเป็นที่อยู่แหล่งอาหารของนกนางแอน่ ในธรรมชาติ ตjอมาไดเ้กิดถิ่นที่อยูใ่หมjของนกนางแอ่นกินรังที่เข้าอาศัยในอาคารที่มนุษย์สร้างขึ้นในเขตชนบทและเมือง และมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปรากฏการณ์นี้ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ทั้งทางนิเวศวิทยา สังคม และเศรษฐกิจต่อชุมชนที่มีนกเข้าอาศัยเหล่านั้น
บทความมุ่งศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเลี้ยงนกนางแอ่นกินรังที่ปรากฏในภูมิทัศน์วัฒนธรรมของพื้นที่คาบสมุทรของไทย ภูมิทัศน์ในการเลี้ยงนกนางแอ่นกินรังในพื้นที่มีความสัมพันธ์เชิงระบบ และแนวทางในการลดผลกระทบและส่งเสริมการเลี้ยงนกนางแอ่นให้เกิดความยั่งยืน โดยอาศัยขอ้ มูลปฐมภูมิและทุติยภูมิจากการวิจัยเรื่องภูมิทัศนว์ ัฒนธรรมลุม่ น้ำเพชรบุรีซึ่งเปน็ โครงการวิจัยย่อยในกลุ่ม วิจัยโครงการการศึกษาเพื่ออนุรักษแ์ ละพัฒนาสิ่งแวดล้อมสรรคส์ร้างลุ่มน้ำเพชรบุรี อำนวยการชุดโครงการโดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ อรศิริ ปาณินท์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเลี้ยงนกนางแอ่นจากอดีตถึงปัจจุบันได้พัฒนา ขยายสถานะของคุณค่าที่มีต่อมนุษย์จากการเป็นเพียงสินค้าที่มีคุณค่าในทางเศรษฐกิจและกลายมาเป็นสินค้าสัญญะทางวัฒนธรรม แต่อย่างไรก็ตามการเลี้ยงนกนางแอ่นกินรังก็ยังอาจเป็นองค์ประกอบที่ช่วยสร้างความสมดุลทางนิเวศวิทยา เศรษฐกิจท้องถิ่น ซึ่งคุณค่าด้านต่างๆของนกนางแอ่นกินรังและการเลี้ยงนกนางแอ่นกินรังนั้น มีความสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อเนื่องซึ่งกันและกัน หากสิ่งต่างๆ เหล่านี้ได้รับการจัดการที่เหมาะสม การเลี้ยงนกนางแอ่นก็จะเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน
Urban Farming of Edible-nest Swiftlet on Refl exive Cultural Landscape
Saran Samantarat, Ornaim Tangkij-ngamwong, Ass.Prof. Sani Limthongsakul, Olarn Charaenchai
Faculty of Architecture, Kasetsart University
Pawin Sirisalee (M.LA.)
TA., Faculty of Architecture, Thamasart University
Edible-nest swiftlet (Collocalia fuciphaga), a mysterious bird of the World History, lives in Southeast Asia. Its famous nest has been announced as an ambrosial medical food.
Domesticating in caves near the river and sea, the edible-nest swiftlet initially sustain its life by those enormous insects found in the local habitat. Later, there was new habitat unintentionally emerged from human shelters in delta town area. This phenomenon has both impact and profit to each place in terms of economic, sociological and ecological aspects. This paper is interested in several relativity of sheltering edible-nest swiftlet in deep Gulf of Thailand and system dynamic of cultural landscape approached both pros and cons with sustainability. Collaborative secondary data was obtained from World crisis El nino in South-East Asia. Primary data was collected from a sub group research “Cultural Landscape in Phetchaburi Basin” under the main title called “The Study for Conservation and Development of the Built Environment in Phetchaburi Basin”, granted by National Research Council of Thailand 2007 and directed by Emeritus Professor Ornsiri Panin, Kasetsart University.
Edible-nest swiftlet farming developed from time to time, from economic commodity to a cultural agent. In the mean time, this farming business can become an interesting factor to balance the threesome of local economy, sociology, and
ecology which leads to sustainable development. This knowledge, if properly managed, will lead to beneficial win-win business and sustainable development for both human and nature.
Metaphorically, if a Karen common house infer to body of productive of a female wife owner , a stove at the heart of the house infer to her productive womb which reborn Karen culture and ethnic identity.This knowledge induce new angle to evaluate vernacular architecture and built environment as usual.
บางครั้งรายละเอียดสิ่งของในชีวิตประจำวันก็อาจให้ความหมายในส่วนสำคัญของวัฒนธรรมหนึ่งได้ บทความนี้เป็นผลการศึกษาทางด้านภูมิสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของกะเหรี่ยงสะกอร์ที่เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพระหว่างปี พ.ศ.2551-2552 และทบทวนเอกสารสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในพื้นที่อันกว้างขวางของการตั้งถิ่นฐานกะเหรี่ยงได้แก่ภาคเหนือภาคตะวันตกและภาคใต้ในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2528 ชี้ว่า แม่เตาไฟและเครื่องใช้-สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างไม้ไผ่ของกะเหรี่ยงสะกอร์ดั้งเดิมนั้นไม่เพียงแต่ตอบสนองต่อความจำเป็นพื้นฐานเท่านั้น แต่ยังบรรจุไปด้วยสัญลักษณ์และความหมายของหลักการใหญ่ของวัฒนธรรมกะเหรี่ยงสะกอร์ อุปมัยว่าหากบ้านเรือนคือเรือนร่างของสตรีกะเหรี่ยงสกอร์ในวัยเจริญพันธุ์แล้ว เตาไฟในบ้านก็เปรียบเสมือนมดลูกอันจะให้กำเนิดสืบทอดทั้งวัฒนธรรมและอัตตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ขององค์ประธานหญิง ความรู้นี้ทบทวนและย้อนแย้งมุมมองเดิมที่ใช้ประเมินคุณค่าทางสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างโดยทั่วไป
บทคัดย่อ
บทความนี้เกิดขึ้นเพื่อเสนอวิธีการจัดวางแนวคิดองก์รวมของทฤษฎีสหสัมพันธ์วิชาโดยผ่านการใช้กราฟฟิกไดอะแกรม เรียกว่า ไดอะแกรมพลวัตแนวคิดองก์รวม อันจะช่วยให้เข้าใจแนวความคิดต่างๆ ผ่านตำแหน่งแห่งที่ของบริบทใน “รูป” ช่วยให้เห็นตำแหน่งเชิงสัมพัทธ์ของแนวคิดเหล่านั้นในแนวกรอบร่วมมิติโดยความหมายเชิงสัมพัทธ์ จะทำให้มีความเข้าใจมโนทัศน์นามธรรมได้ชัดเจนยิ่งขึ้น แนวคิดสำคัญที่เลือกมาจัดวางได้แก่ แนวคิดสัมพัทธ์ภาพทั่วไปทางฟิสิกส์ แนวคิดสนามทางสังคมวิทยาของบูร์ดิเยอ แนวคิดทางมานุษยวิทยาละคอนของกอฟมัน และแนวคิดเกี่ยวกับพื้นที่สังคมของเลอแฟบวร์ เป็นต้น
ไดอะแกรมยังใช้เป็นเครื่องมือตรวจสอบทำความเข้าใจร่วมกัน ระหว่างวิชาการต่างสาขาหรือสำหรับนักวิชาการแต่ละคนที่จะวางตำแหน่งของทฤษฎีต่างๆ ของแต่ละกระบวนวิชาการร่วมกัน อันอาจมีคุณต่อการศึกษาวิจัยในวิชาการต่างๆ โดยรวม อาทิเช่น ลดการภาระที่ซ้ำซ้อนกัน นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องมือช่วยอ่านทำความเข้าใจ “ภูมิทัศน์ทางวิชาการ” จึงเสริมสร้างความสามารถในการทำงานวิชาการ ในกระบวนทัศน์แบบองก์รวมของสังคมในท้ายสุด
Abstract
This paper represent of how to positioning several notions or main concepts of several subject which called the holistic conceptualized diagram (HCD.) the diagram becomes a heuristic tool for more understanding of those ideals by relatively positioning in configuration. For examples in diagram are Einstein’s General Relativity Theory, Bourdieu’s Field Theory, Goffman’s Dramaturgy, and Lefebvre’s Production of Space and so on.
HCD is checking instruments for those interdisciplinary subjects by allow any academic individual to put down the positioning of each studied theory and see each others. This process might be able to be an interpreted heuristic tool for Academics Landscape reading that support any holistic paradigm studies
บทคัดย่อ
ในฐานะพาหะทางวัฒนธรรม องค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างบางประการ ได้แก่ ประตู, บันได, แม่เตาไฟ, เสาแรก, กระด้ง และตาแหลว เป็นต้น มีความชัดเจนในการบรรจุและการถ่ายทอดความหมายทางวัฒนธรรมมากกว่าองค์ประกอบอื่น ๆ และปรากฏอยู่ทั้งในกลุ่มไท-ลาวทางตะวันออก และกะเหรี่ยงทางตะวันตกของคาบสมุทร ไม่ใช่เพียงแต่ด้านประโยชน์การใช้สอยเท่านั้น แต่ในแง่การเป็นพาหะของความหมายสำคัญทางวัฒนธรรมหรือจักรวาลวิทยา ภายใต้บริบทของความแตกต่างหลากหลายของภาษาวัฒนธรรมแห่งภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อีกด้วย
บทความนี้เป็นผลการศึกษาเปรียบเทียบวัตถุพาหะเหล่านั้นโดยคัดสรรค์ผลการศึกษาจากการวิจัยเรื่อง ‘พลัดถิ่นที่ย้อนแย้ง’ ซึ่งศึกษากลุ่มชาติพันธุ์พลัดถิ่นไท-ลาวสำเนียงหลวงพระบาง หรือลาวคังในกลุ่มไท-ลาว ในตระกูลภาษาไต-กะได ผนวกกับทบทวนเอกสารทุติยภูมิของไทดำซึ่งมีความเป็นมาดั้งเดิมเช่นเดียวกับกะเหรี่ยงเพื่อเป็นตัวแทนในตระกูลภาษาไต-กะได และอีกส่วนจากโครงการวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเรื่อง “ ‘เบลาะ/ปลัง’ โรงเรือนพิธีกรรมส่วนรวมของกะเหรี่ยงสะกอร์และกะเหรี่ยงโปว์สำเนียงเหนือ” ซึ่งศึกษากะเหรี่ยง ตัวแทนในตระกูลภาษาทิเบโต-เบอร์มัน โดยเชื่อว่าความรู้เป็นสิ่งสัมพัทธ์ งานวิจัยทั้งสองรวมถึงบทความนี้ใช้ทฤษฎีวิธีวิทยาหลัก ได้แก่ กระบวนการพิธีกรรมปริวัตรสามแบบเทอร์เนอร์ ส่วนจิตสำนึกพลัดถิ่นเป็นเครื่องมือรอง
ผลศึกษาเปรียบเทียบชี้ให้เห็นถึงตำแหน่งแห่งที่, กระบวนรูปแบบปฏิบัติการ และความหมายพิธีกรรมของสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างสัมพัทธ์ร่วมกันต่างบรรจุกระบวนการกำหนดสร้างและถ่ายทอดความหมาย ทั้งที่มีร่วมกันและแตกต่างกันของจักรวาลวิทยาในแต่ละกลุ่มวัฒนธรรม โดยจักรวิทยาแบบต้นไม้ความรู้ปรากฏชัดในกลุ่มไท-ลาวและกะเหรี่ยง ส่วนจักรวาลวิทยาแบบต้นไม้แห่งชีวิตปรากฏในกลุ่มกระเหรี่ยง ชวนให้ทบทวนเสาหลักความคิดสถาปัตยกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง การศึกษาทบทวนร่วมตัวแทนในสามตระกูลภาษาที่ยังคงเหลือ โดยจะเปิดความเข้าใจร่วมใหม่ของภูมิทัศน์วัฒนธรรมและภูมิทัศน์ทางวิชาการของภูมิภาค
Abstract
As cultural meaning carriers, some built environment artifacts have its initial value for cultural code transmitting more than others as door, stair, hearth, first pillar, kradong, talaew and so on. Those same aspects used both in Tai and Karen, not only by its instrumental meaning, but also by its cultural signification, among cultural-dialectic diversity in South-East Asia context.
This paper aims to present the relatively comparison beween Tai and Karen cosmology. On Tai side, data from a Lungprabang dialect Tai-Lao research “Disaporas Paradox” gathers with rich literature review data from Tai Dam adjusting the origin point to indigeneous Karen represent Tai-Kadai language family. On Karen side, selected parts of Ph.D. dissertation “‘Blaw’ S’gaw and Pwo Northern Karen Ritual-common Houses” took place as representative of Tibeto-Burman language family. Both researchs and this paper, entrusted in relativism of knowledge. Victor Turner’s ‘Ritual Process Analysis’ and its triangulation oporated as major methodology instrument, and minor used ‘Diasporas Consciousness’ take place.
Betwixt, the locality, the process pattern, and the significance, those aspects reveal that both Tai and Karen have common cosmology of ‘Tree of Knowledge’. However Karen manifest in ‘Tree of Life’cosmology with equilibrium. The results lean to revise some pillar in Architecture foundation. The other three language-families might study more relativism for more understanding to open up new understanding of academic cultural landscape of region.
KEYWORDS
สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง; จักรวาลวิทยา; ไต; ไทดำ; กะเหรี่ยง; สกอร์; ต้นไม้แห่งชีวิต; ต้นไม้แห่งความรู้; ขวัญ; แม่เตาไฟ; ตาแหลว; กระด้ง; กระบวนการพิธีกรรม; สัมพัทธภาพ; built environment; cosmology; Tai; TaiDam; Karen; S’gaw; Tree of Life