Conference Presentations by Rattikan Viboonpanich
The 14th BENJAMIT Network National & International Conference, 2024
This research aims to address the significant problem of homeless and unattended pets through the... more This research aims to address the significant problem of homeless and unattended pets through the development of the "Furry Friend" application. This application facilitates adoptions by: (1) increasing the chances of finding suitable, warm homes tailored to the needs of the adopters; (2) promoting adoption over purchasing to decrease the abandonment of pets; (3) ensuring pets are rehomed safely and comfortably; and (4) fostering collaboration between various sectors including NGOs like Paw Ju House for Stray Legs, Santisook Dog and Cat Rescue, and The ARK Chiang Mai. The application, developed using Darta programming language suitable for multi-platform applications-employs Firebase as its database system. The system categorizes users into three groups: administrators, users seeking to adopt pets, and users offering pets for adoption. Performance testing across five aspects-user capability, system functionality, system quality and efficiency, design features, and security-involved 30 participants and demonstrated that the system performs well, with an average effectiveness rating of 4.22 and a standard deviation of 0.78, aligning with the research objectives.
The 14th BENJAMIT Network National & International Conference, 2024, 2024
The design and development of an application aimed at inspiring self-improvement to enhance lear... more The design and development of an application aimed at inspiring self-improvement to enhance learning among students at the Faculty of Information Technology and Digital Innovation, North Bangkok University, was undertaken with specific objectives. First, to design and develop applications that inspire self-development and promote learning for students within the aforementioned faculty. Second, the application aims to motivate learners by making lessons enjoyable and encouraging, thereby fostering an eagerness to learn and challenging their potential through engaging content. Third, it offers users access to a variety of educational materials, such as articles and quizzes, to facilitate continuous self-development at their convenience, without being limited to a preset schedule. The system was developed using Dart, a programming language for creating mobile apps, with Flutter and employs MongoDB for database management. It categorizes users into two groups: administrators and users. Through performance testing across five aspects—user capabilities, system capabilities, system assessment for quality and efficiency, design evaluation, and security—the system demonstrated good efficiency, with an average rating of 4.36 and a standard deviation of 0.75. Based on feedback from 30 users and 10 test cases, the application effectively meets its intended goals.
เบญจมิตรวิชาการ ครั้งที่ 13, 2023
การออกแบบและพัฒนาระบบรดน้ำพืชพันธุ์กระท่อมอัตโนมัติ โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อทุกสรรพสิ่ง ... more การออกแบบและพัฒนาระบบรดน้ำพืชพันธุ์กระท่อมอัตโนมัติ โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อทุกสรรพสิ่ง มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อออกแบบและพัฒนาระบบการรดน้ำในการดูแลรักษาต้นกล้าพืชพันธุ์กระท่อม ประกอบด้วย 5 โมดูล ดังนี้ โมดูลแสดงอุณหภูมิ โมดูลความชื้นในดิน โมดูลแสดงความชื้นในโรงเรือน โมดูลการตั้งเวลา เปิด-ปิด แบบอัตโนมัติ และโมดูลการตั้งเวลา เปิด-ปิดระบบกลางแจ้ง 2) เพื่อวัดประสิทธิผลการเจริญเติบโตและความแข็งแรงของต้นกล้าพืชพันธุ์กระท่อม โดยการเปรียบเทียบการรดน้ำ 2 รูปแบบ คือ รดน้ำโดยใช้คนเปิด-ปิดสปริงเกอร์ภายนอกโรงเรือน และระบบการพ่นแบบฝอยซึ่งอยู่ในโรงเรือน กับระบบที่ใช้เทคโนโลยีในการควบคุมเพื่อหาข้อแตกต่างในการเจริญเติบโตของพืชพันธุ์กระท่อม 3) เพื่อประเมินประสิทธิภาพของการใช้งานระบบรดน้ำพืชพันธุ์กระท่อมอัตโนมัติ โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อทุกสรรพสิ่ง
การใช้งานเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อทุกสรรพสิ่งโดยใช้บอร์ด Arduino Node MCU ESP8266 เข้ามาควบคุมระบบเพื่อทำการประมวลผลและทำการตรวจและแสดงค่าอุณหภูมิในอากาศ ความชื้นในอากาศ โดยจะทำการตรวจแสดงค่าและตั้งค่าเพื่อควบคุมความชื้นในดินนำมาประมวลผลแล้วทำการสั่งเปิด-ปิด การจ่ายน้ำเพื่อใช้สำหรับรดน้ำพืชพันธุ์กระท่อมอัตโนมัติในส่วนของระบบในโรงเรือน และสามารถตั้งเวลารดน้ำได้ในส่วนของระบบนอกโรงเรือนได้โดยผู้ใช้งานสามารถควบคุมผ่าน Application Blynk บนสมาร์ทโฟนผ่านสัญญาณ WIFI และสัญญาณโทรศัพท์ โดยระบบมีผู้เชี่ยวชาญประเมินประสิทธิภาพการทำงานจำนวน 3 คน ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.61 และได้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.41 แปลผลประสิทธิภาพอยู่ระดับมากที่สุด ประสิทธิภาพการทำงานของระบบโดยผู้ใช้งานทั่วไปจำนวน 15 คน ได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.47 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.69 แปลผลประสิทธิภาพอยู่ระดับมาก
เบญจมิตรวิชาการ ครั้งที่ 13, 2023
Decoding the Complexity of Adolescent Suicidal Behaviors with Exploratory Data Analysis Technique... more Decoding the Complexity of Adolescent Suicidal Behaviors with Exploratory Data Analysis Techniques aims to explore the factors associated with suicidal behavior among adolescents using the Global School-based Student Health Survey dataset. Through exploratory data analysis and advanced analytical techniques, we investigated the relationship between suicidal behavior and various risk factors, including bullying, serious injuries, and social relationships. Our analysis also considered the potential moderating effects of protective factors, such as parental support and peer relationships, on the connection between risk factors and suicidal behavior. The results revealed that bullying, serious injuries, and a lack of close friends were the top three factors with the strongest correlation to attempted suicide among adolescents. We found that females exhibited higher suicide rates compared to males, and that the 13-15 age group showed higher suicide rates than the 16-17 age group. Additionally, our study highlighted the importance of data-driven methodologies in guiding future research and intervention efforts for adolescent suicide prevention. In conclusion, our findings contribute to the existing knowledge of factors influencing adolescent suicidal behavior and emphasize the need for targeted interventions and comprehensive prevention programs. Further research exploring the complex interplay between risk and protective factors is essential for developing effective strategies to mitigate suicide risk among adolescents and promote positive mental health outcomes.
เบญจมิตรวิชาการ ครั้งที่ 12, 2022
The development of an information system for tracking the progress of the thesis for students of ... more The development of an information system for tracking the progress of the thesis for students of the Faculty of Information Technology and Digital Innovation at North Bangkok University has been developed for the following purposes: 1) to design an information system for tracking the progress of the thesis; 2) to develop the information system for tracking profess of the thesis, and; 3) to evaluate the performance of the developed system. This system has been developed using web application language, PHP, and MySQL as a database. The developed system classifies users into 4 roles which are administrator, students, advisors, and head of department. Based on the evaluation of 50 people towards 4 aspects: the need for use, the performance, the design, and the security, it has been found that the overall performance of the developed system was found at a good level with an average of 4.55 and 0.61 SD Furthermore, the system has responded well to real usage based on ten test cases.
เบญจมิตรวิชาการ ครั้งที่ 13, 2023
งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาต้นแบบระบบคำนวณค่าไฟฟ้าภายในบ้านผ่านแอปพลิเคชันโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต... more งานวิจัยเรื่อง การพัฒนาต้นแบบระบบคำนวณค่าไฟฟ้าภายในบ้านผ่านแอปพลิเคชันโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตในทุกสิ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาต้นแบบสำหรับให้ผู้ใช้สามารถตรวจสอบปริมาณการใช้งานพลังงานไฟฟ้าและบันทึกปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้ารวมทั้งคำนวณค่าใช้ไฟฟ้าในแต่ละเดือนผ่านแอปพลิเคชั่นได้ การ
พัฒนาต้นแบบได้ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP8266 ร่วมกับอุปกรณ์ PZEM-004T ทำหน้าที่วัดค่าการใช้พลังงานไฟฟ้าและส่งข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าไปที่ NETPIE แพลตฟอร์ม IOT ผู้ใช้สามารถตรวจสอบข้อมูลการใช้งานไฟฟ้าผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะช่วยให้สามารถวางแผนและจัดการปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในบ้านช่วยในการคำนวณและประเมินค่าใช้จ่ายและเปรียบเทียบราคาค่าไฟฟ้าในแต่ละเดือนจากการไฟฟ้านครหลวงหรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การหาประสิทธิภาพของระบบ ได้มีการวัดและประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานต่อต้นแบบ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างจากกลุ่มประชากรที่พักอาศัยในเขตพื้นที่สายไหม ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 30 คน และประเมินความคิดเห็นโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน ด้วยวิธีการทางสถิติเพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลจากการประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญได้ (X = 4.43, S.D. = 0.42) สรุปผลได้ว่าอยู่ในระดับดี และผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งาน (X = 4.57, S.D. = 0.16) สรุปผลได้ว่าอยู่ในระดับ ดีมากผลประเมินในการพัฒนาต้นแบบคำนวณค่าไฟฟ้าภายในบ้านผ่านแอปพลิเคชันนี้ สรุปได้ว่าต้นแบบที่พัฒนาสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้ต่อไป
การออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบอุปกรณ์ช่วยการถอยหลังสำหรับรถเข็นวีลแชร์ มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อออกแบบต... more การออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบอุปกรณ์ช่วยการถอยหลังสำหรับรถเข็นวีลแชร์ มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อออกแบบตัวต้นแบบอุปกรณ์ช่วยการถอยหลังสำหรับรถเข็นวีลแชร์ 2.เพื่อพัฒนาตัวต้นแบบอุปกรณ์ช่วยการถอยหลังสำหรับรถเข็นวีลแชร์ 3.เพื่อประเมินประสิทธิภาพตัวต้นแบบอุปกรณ์ช่วยการถอยหลังสำหรับรถเข็นวีลแชร์ 4.เพื่อศึกษาผลการใช้งานของตัวต้นแบบอุปกรณ์ช่วยการถอยหลังสำหรับรถเข็นวีลแชร์ โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และเป็นผู้สูงอายุ และผู้พิการ จำนวน 15 คน ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1.ตัวต้นแบบระบบ 2.แบบประเมินความคิดเห็นของการออกแบบตัวต้นแบบ 3.แบบประเมินความเหมาะสมของการพัฒนาตัวต้นแบบ และแบบประเมินผลการทดสอบการใช้งานอุปกรณ์ช่วยการถอยหลังสำหรับรถเข็นวีลแชร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) การออกแบบตัวต้นแบบ ประกอบด้วย 2 โมดูล คือ โมดูลช่วยการถอยหลังสำหรับรถเข็นวีลแชร์ การบันทึกข้อมูลลงบนระบบ Cloud และการแจ้งเตือนผ่าน Line 2) ผลการประเมินความคิดเห็นของการออกแบบตัวต้นแบบ จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (x̄) รวมเท่ากับ 4.37 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมเท่ากับ 0.55 3) ผลการประเมินความเหมาะสมของการพัฒนาตัวต้นแบบ จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (x̄) รวมเท่ากับ 4.53 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมเท่ากับ 0.51 แสดงว่าสามารถนำตัวต้นแบบอุปกรณ์ช่วยการถอยหลังสำหรับรถเข็นวีลแชร์ ไปใช้ได้จริง
การพัฒนาตัวต้นแบบไม้เท้าอัจฉริยะ เพื่อผู้พิการและผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อออกแบบตัวต้นแบบ... more การพัฒนาตัวต้นแบบไม้เท้าอัจฉริยะ เพื่อผู้พิการและผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อออกแบบตัวต้นแบบไม้เท้าอัจฉริยะ 2.เพื่อพัฒนาตัวต้นแบบไม้เท้าอัจฉริยะ 3.เพื่อประเมินประสิทธิภาพตัวต้นแบบไม้เท้าอัจฉริยะ 4.เพื่อศึกษาผลการใช้งานของตัวต้นแบบไม้เท้าอัจฉริยะ โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และเป็นผู้สูงอายุ และผู้พิการ จำนวน 15 คน ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1.ตัวต้นแบบระบบ 2.แบบประเมินความคิดเห็นของการออกแบบตัวต้นแบบ 3.แบบประเมินความเหมาะสมของการพัฒนาตัวต้นแบบ และแบบประเมินผลการทดสอบการใช้งานไม้เท้าอัจฉริยะ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) การออกแบบตัวต้นแบบ ประกอบด้วย 2 โมดูล คือ โมดูลการตรวจจับสิ่งกีดขวาง โดยส่งสัญญาณเป็นเสียง และโมดูลการตรวจจับแหล่งน้ำ โดยส่งสัญญาณการสั่นสะเทือน 2) ผลการประเมินความคิดเห็นของการออกแบบตัวต้นแบบ จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (x̄) รวมเท่ากับ 4.35 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมเท่ากับ 0.52 3) ผลการประเมินความเหมาะสมของการพัฒนาตัวต้นแบบ จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (x̄) รวมเท่ากับ 4.43 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมเท่ากับ 0.51 แสดงว่าสามารถนำตัวต้นแบบไม้เท้าอัจฉริยะ ไปใช้ได้จริง
การพัฒนาตัวต้นแบบราวตากผ้าอัจฉริยะ มีวัตถุประสงค์1.เพื่อออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบราวตากผ้าอัจฉริยะ ... more การพัฒนาตัวต้นแบบราวตากผ้าอัจฉริยะ มีวัตถุประสงค์1.เพื่อออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบราวตากผ้าอัจฉริยะ 2.เพื่อประเมินผลการออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบราวตากผ้อัจฉริยะ โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จำนวน 15 คน ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1.ตัวต้นแบบระบบ 2.แบบประเมินความคิดเห็นของการออกแบบตัวต้นแบบ 3.แบบประเมินความเหมาะสมของการ
พัฒนาตัวต้นแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1)การออกแบบตัวต้นแบบ ประกอบด้วย 2 โมดูล คือ โมดูลความชื้น และโมดูลเปิด-ปิดผ้าม่านกันฝน 2) ผลการประเมินความคิดเห็นของการออกแบบตัวต้นแบบ จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับดีมีค่าเฉลี่ย (X) รวมเท่ากับ 4.42 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมเท่ากับ 0.54 3)ผลการประเมินความเหมาะสมของการพัฒนาตัวต้นแบบ จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (X) รวมเท่ากับ 4.60 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมเท่ากับ 0.50 แสดงว่าสามารถนำตัวต้นแบบระบบราวตากผ้าอัจฉริยะไปใช้ได้จริง
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบระบบวิเคราะห์อัลกอริทึมอีคัวแฮช เพื่อใช้... more การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบระบบวิเคราะห์อัลกอริทึมอีคัวแฮช เพื่อใช้ในการถอดรหัสสกุลเงินดิจิทัลซีแคช (Zcash) โดยใช้กระบวนการดาต้าวิชวลไลเซชันสำหรับการเลือกใช้กลุ่มเครือข่าย(Pool) ที่เหมาะสม และ 2) เพื่อประเมินผลการออกแบบพัฒนาตัวต้นแบบระบบวิเคราะห์อัลกอริทึมอีคัวแฮช เพื่อใช้ในการถอดรหัสสกุลเงินดิจิทัลซีแคช โดยใช้กระบวนการดาต้าวิชวลไลเซชันสำหรับการเลือกใช้กลุ่มเครือข่ายที่เหมาะสม โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
และด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์จำนวน 20 ท่าน ใช้การเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช้แบบประเมินความเหมาะสมการออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบระบบ แบ่งเป็น 5 ด้าน คือ 1) ด้านความสามารถในการทำงานของระบบ 2) ด้านความถูกต้องในการทำงานของระบบ 3) ด้านความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานระบบ 4)ด้านความเร็วในการทำงานของระบบ และ 5) ด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบผลการวิจัย พบว่า การออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบระบบระบบวิเคราะห์อัลกอริทึมอีคัวแฮช เพื่อใช้ในการถอดรหัสสกุลเงินดิจิทัลซีแคช โดยใช้กระบวนการดาต้าวิชวลไลเซชันสำหรับการเลือกใช้กลุ่มเครือข่ายที่เหมาะสมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (X) รวมเท่ากับ 4.43 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีค่าเท่ากับ 0.59 แสดงว่าสามารถออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบระบบวิเคราะห์อัลกอริทึมอีคัวแฮชเพื่อใช้ในการถอดรหัสสกุลเงินดิจิทัลซีแคช โดยใช้กระบวนการดาต้าวิชวลไลเซชันสำหรับการเลือกใช้กลุ่มเครือข่ายที่เหมาะสมได้อย่างเหมาะสม
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อออกแบบตัวต้นแบบระบบโรงเรือนอัจฉริยะเพื่อสํงเสริมความสะดวกสบายให้... more การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อออกแบบตัวต้นแบบระบบโรงเรือนอัจฉริยะเพื่อสํงเสริมความสะดวกสบายให้กับผู้สูงอายุ โดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อทุกสรรพสิ่ง 2.เพื่อประเมินผลการออกแบบตัวต้นแบบระบบโรงเรือนอัจฉริยะเพื่อส่งเสริมความสะดวกสบายให้กับผู้สูงอายุโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อทุกสรรพสิ่ง โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และเป็นผู้สูงอายุ จำนวน 15 คน ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1.ตัวต้นแบบ ระบบ 2.แบบประเมินความคิดเห็นของการออกแบบตัวต้นแบบ 3.แบบประเมินความเหมาะสมของการพัฒนาตัวต้นแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คําเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบวํา 1)การออกแบบตัวต้นแบบ ประกอบด้วย 5 โมดูล คือ โมดูลอุณภูมิ โมดูลความชื้น โมดูลวัดความชื้นในดิน โมดูลพัดลม โมดูลปั้มน้ำ โดยใช้ NETPIE ที่เป็นแพลตฟอร์มให้บริการผําน เทคโนโลยีคลาวด์สำหรับเชื่อมต่อสื่อสารในรูปแบบอินเทอร์เน็ตเพื่อทุกสรรพสิ่ง 2) ผลการประเมินความคิดเห็นของการออกแบบตัวต้นแบบ จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยูํในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (x̄) รวมเท่ากับ 4.38 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมเท่ากับ 0.64 3)ผลการประเมินความเหมาะสมของการพัฒนาตัวต้นแบบ จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (x̄) รวมเทํากับ 4.50 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมเท่ากับ 0.51 แสดงว่าสามารถนำตัวต้นแบบระบบโรงเรือนอัจฉริยะโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อทุกสรรพสิ่งได้ไปประยุกต์ใช้เพื่อสํงเสริมความสะดวกสบายให้กับผู้สูงอายุอย่างเหมาะสม
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบตัวต้นแบบระบบ และ 2) เพื่อประเมินผลการออกแบบตัวต้นแบบระบบ... more การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบตัวต้นแบบระบบ และ 2) เพื่อประเมินผลการออกแบบตัวต้นแบบระบบ แบ่งเป็น 5 ด้าน 1) ด้านความสามารถในการทำงานของระบบ 2) ด้านความถูกต้องในการทำงานของระบบ 3) ด้านความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานระบบ 4) ด้านความเร็วในการทำงานของระบบ 5) ด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบ ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสามารถในการทำงานของระบบอยู่ในระดับดี (x̄ = 4.36, S.D. = 0.48) 2) ความถูกต้องในการทำงานอยู่ในระดับดี (x̄ = 4.41, S.D. = 0.49) 3) ความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานอยู่ในระดับดี (x̄ = 4.41, S.D. = 0.49) 4) ความเร็วในการทำงานอยู่ในระดับดี (x̄ = 4.40, S.D. = 0.47) และ 5) ความปลอดภัยของระบบอยู่ในระดับดี (x̄ = 4.36, S.D. = 0.49)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบตัวต้นแบบระบบ และ 2) เพื่อประเมินประสิทธิภาพการทำงานโดยใช... more การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อออกแบบตัวต้นแบบระบบ และ 2) เพื่อประเมินประสิทธิภาพการทำงานโดยใช้แบบประเมินความเหมาะสมการออกแบบตัวต้นแบบระบบ แบ่งเป็น 5 ด้าน 1) ด้านความสามารถในการทำงานของระบบ 2) ด้านความถูกต้องในการทำงานของระบบ 3) ด้านความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานระบบ 4) ด้านความเร็วในการทำงานของระบบ 5) ด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบ
ผลการวิจัยพบว่า การออกแบบตัวต้นแบบระบบจัดการเลือกตั้งแบบเสียงส่วนใหญ่เพื่อการเลือกตั้งผู้นำภายในสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีการรู้จำใบหน้าอยู่ในระดับดี (x̄ = 4.46, S.D. = 0.66) แสดงว่าสามารถพัฒนาตัวต้นแบบระบบจัดการเลือกตั้งแบบเสียงส่วนใหญ่ เพื่อการเลือกตั้งผู้นำในสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีรู้จำใบหน้าได้อย่างเหมาะสม
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบตัวต้นแบบระบบจัดการความรู้ 2) พัฒนาตัวต้นแบบระบบจัดการควา... more การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบตัวต้นแบบระบบจัดการความรู้ 2) พัฒนาตัวต้นแบบระบบจัดการความรู้ และ 3) ประเมินผลการพัฒนาตัวต้นแบบระบบจัดการความรู้ สําหรับบุคลากรคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และด้านการจัดการความรู้ จํานวน 30 คน ใช้การเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) ตัวต้นแบบระบบจัดการความรู้ และ 2) แบบประเมินความเหมาะสมของการพัฒนาตัวต้นแบบระบบจัดการความรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย เลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) ระบบต้นแบบที่พัฒนาประกอบด้วย 7 โมดูล คือ โมดูลจัดการข้อมูลสมาชิก โมดูลการกําหนดสิทธิ์ผู้ใช้งาน โมดูลเข้าสู่ระบบ โมดูลการสร้างความรู้ โมดูลการตรวจสอบความรู้ โมดูลการจัดเก็บองค์ความรู้ และโมดูลการแบ่งปันองค์ความรู้ โดยระบบมีการกําหนดสิทธิและแบ่งผู้ใช้ออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ผู้ดูแลระบบ ผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์ และเจ้าหน้าที่ และ 2) ผลการประเมินความเหมาะสมของการพัฒนาตัวต้นแบบระบบจัดการความรู้จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (x̅) รวมเท่ากับ 4.32 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวม เท่ากับ 0.62 แสดงว่าสามารถนําตัวต้นแบบระบบจัดการความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารผ่านคลาวด์เทคโนโลยี สําหรับบุคลากรคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพได้อย่างเหมาะสม
Papers by Rattikan Viboonpanich
2022 International Conference on Computer Science and Software Engineering (CSASE)
Uploads
Conference Presentations by Rattikan Viboonpanich
การใช้งานเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อทุกสรรพสิ่งโดยใช้บอร์ด Arduino Node MCU ESP8266 เข้ามาควบคุมระบบเพื่อทำการประมวลผลและทำการตรวจและแสดงค่าอุณหภูมิในอากาศ ความชื้นในอากาศ โดยจะทำการตรวจแสดงค่าและตั้งค่าเพื่อควบคุมความชื้นในดินนำมาประมวลผลแล้วทำการสั่งเปิด-ปิด การจ่ายน้ำเพื่อใช้สำหรับรดน้ำพืชพันธุ์กระท่อมอัตโนมัติในส่วนของระบบในโรงเรือน และสามารถตั้งเวลารดน้ำได้ในส่วนของระบบนอกโรงเรือนได้โดยผู้ใช้งานสามารถควบคุมผ่าน Application Blynk บนสมาร์ทโฟนผ่านสัญญาณ WIFI และสัญญาณโทรศัพท์ โดยระบบมีผู้เชี่ยวชาญประเมินประสิทธิภาพการทำงานจำนวน 3 คน ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.61 และได้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.41 แปลผลประสิทธิภาพอยู่ระดับมากที่สุด ประสิทธิภาพการทำงานของระบบโดยผู้ใช้งานทั่วไปจำนวน 15 คน ได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.47 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.69 แปลผลประสิทธิภาพอยู่ระดับมาก
พัฒนาต้นแบบได้ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP8266 ร่วมกับอุปกรณ์ PZEM-004T ทำหน้าที่วัดค่าการใช้พลังงานไฟฟ้าและส่งข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าไปที่ NETPIE แพลตฟอร์ม IOT ผู้ใช้สามารถตรวจสอบข้อมูลการใช้งานไฟฟ้าผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะช่วยให้สามารถวางแผนและจัดการปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในบ้านช่วยในการคำนวณและประเมินค่าใช้จ่ายและเปรียบเทียบราคาค่าไฟฟ้าในแต่ละเดือนจากการไฟฟ้านครหลวงหรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การหาประสิทธิภาพของระบบ ได้มีการวัดและประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานต่อต้นแบบ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างจากกลุ่มประชากรที่พักอาศัยในเขตพื้นที่สายไหม ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 30 คน และประเมินความคิดเห็นโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน ด้วยวิธีการทางสถิติเพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลจากการประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญได้ (X = 4.43, S.D. = 0.42) สรุปผลได้ว่าอยู่ในระดับดี และผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งาน (X = 4.57, S.D. = 0.16) สรุปผลได้ว่าอยู่ในระดับ ดีมากผลประเมินในการพัฒนาต้นแบบคำนวณค่าไฟฟ้าภายในบ้านผ่านแอปพลิเคชันนี้ สรุปได้ว่าต้นแบบที่พัฒนาสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้ต่อไป
พัฒนาตัวต้นแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1)การออกแบบตัวต้นแบบ ประกอบด้วย 2 โมดูล คือ โมดูลความชื้น และโมดูลเปิด-ปิดผ้าม่านกันฝน 2) ผลการประเมินความคิดเห็นของการออกแบบตัวต้นแบบ จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับดีมีค่าเฉลี่ย (X) รวมเท่ากับ 4.42 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมเท่ากับ 0.54 3)ผลการประเมินความเหมาะสมของการพัฒนาตัวต้นแบบ จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (X) รวมเท่ากับ 4.60 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมเท่ากับ 0.50 แสดงว่าสามารถนำตัวต้นแบบระบบราวตากผ้าอัจฉริยะไปใช้ได้จริง
และด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์จำนวน 20 ท่าน ใช้การเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช้แบบประเมินความเหมาะสมการออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบระบบ แบ่งเป็น 5 ด้าน คือ 1) ด้านความสามารถในการทำงานของระบบ 2) ด้านความถูกต้องในการทำงานของระบบ 3) ด้านความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานระบบ 4)ด้านความเร็วในการทำงานของระบบ และ 5) ด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบผลการวิจัย พบว่า การออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบระบบระบบวิเคราะห์อัลกอริทึมอีคัวแฮช เพื่อใช้ในการถอดรหัสสกุลเงินดิจิทัลซีแคช โดยใช้กระบวนการดาต้าวิชวลไลเซชันสำหรับการเลือกใช้กลุ่มเครือข่ายที่เหมาะสมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (X) รวมเท่ากับ 4.43 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีค่าเท่ากับ 0.59 แสดงว่าสามารถออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบระบบวิเคราะห์อัลกอริทึมอีคัวแฮชเพื่อใช้ในการถอดรหัสสกุลเงินดิจิทัลซีแคช โดยใช้กระบวนการดาต้าวิชวลไลเซชันสำหรับการเลือกใช้กลุ่มเครือข่ายที่เหมาะสมได้อย่างเหมาะสม
ผลการวิจัยพบว่า การออกแบบตัวต้นแบบระบบจัดการเลือกตั้งแบบเสียงส่วนใหญ่เพื่อการเลือกตั้งผู้นำภายในสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีการรู้จำใบหน้าอยู่ในระดับดี (x̄ = 4.46, S.D. = 0.66) แสดงว่าสามารถพัฒนาตัวต้นแบบระบบจัดการเลือกตั้งแบบเสียงส่วนใหญ่ เพื่อการเลือกตั้งผู้นำในสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีรู้จำใบหน้าได้อย่างเหมาะสม
Papers by Rattikan Viboonpanich
การใช้งานเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อทุกสรรพสิ่งโดยใช้บอร์ด Arduino Node MCU ESP8266 เข้ามาควบคุมระบบเพื่อทำการประมวลผลและทำการตรวจและแสดงค่าอุณหภูมิในอากาศ ความชื้นในอากาศ โดยจะทำการตรวจแสดงค่าและตั้งค่าเพื่อควบคุมความชื้นในดินนำมาประมวลผลแล้วทำการสั่งเปิด-ปิด การจ่ายน้ำเพื่อใช้สำหรับรดน้ำพืชพันธุ์กระท่อมอัตโนมัติในส่วนของระบบในโรงเรือน และสามารถตั้งเวลารดน้ำได้ในส่วนของระบบนอกโรงเรือนได้โดยผู้ใช้งานสามารถควบคุมผ่าน Application Blynk บนสมาร์ทโฟนผ่านสัญญาณ WIFI และสัญญาณโทรศัพท์ โดยระบบมีผู้เชี่ยวชาญประเมินประสิทธิภาพการทำงานจำนวน 3 คน ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.61 และได้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.41 แปลผลประสิทธิภาพอยู่ระดับมากที่สุด ประสิทธิภาพการทำงานของระบบโดยผู้ใช้งานทั่วไปจำนวน 15 คน ได้ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.47 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.69 แปลผลประสิทธิภาพอยู่ระดับมาก
พัฒนาต้นแบบได้ใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP8266 ร่วมกับอุปกรณ์ PZEM-004T ทำหน้าที่วัดค่าการใช้พลังงานไฟฟ้าและส่งข้อมูลการใช้พลังงานไฟฟ้าไปที่ NETPIE แพลตฟอร์ม IOT ผู้ใช้สามารถตรวจสอบข้อมูลการใช้งานไฟฟ้าผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะช่วยให้สามารถวางแผนและจัดการปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในบ้านช่วยในการคำนวณและประเมินค่าใช้จ่ายและเปรียบเทียบราคาค่าไฟฟ้าในแต่ละเดือนจากการไฟฟ้านครหลวงหรือการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การหาประสิทธิภาพของระบบ ได้มีการวัดและประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานต่อต้นแบบ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างจากกลุ่มประชากรที่พักอาศัยในเขตพื้นที่สายไหม ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 30 คน และประเมินความคิดเห็นโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน ด้วยวิธีการทางสถิติเพื่อหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลจากการประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญได้ (X = 4.43, S.D. = 0.42) สรุปผลได้ว่าอยู่ในระดับดี และผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งาน (X = 4.57, S.D. = 0.16) สรุปผลได้ว่าอยู่ในระดับ ดีมากผลประเมินในการพัฒนาต้นแบบคำนวณค่าไฟฟ้าภายในบ้านผ่านแอปพลิเคชันนี้ สรุปได้ว่าต้นแบบที่พัฒนาสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้ต่อไป
พัฒนาตัวต้นแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1)การออกแบบตัวต้นแบบ ประกอบด้วย 2 โมดูล คือ โมดูลความชื้น และโมดูลเปิด-ปิดผ้าม่านกันฝน 2) ผลการประเมินความคิดเห็นของการออกแบบตัวต้นแบบ จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับดีมีค่าเฉลี่ย (X) รวมเท่ากับ 4.42 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมเท่ากับ 0.54 3)ผลการประเมินความเหมาะสมของการพัฒนาตัวต้นแบบ จากผู้เชี่ยวชาญภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย (X) รวมเท่ากับ 4.60 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) รวมเท่ากับ 0.50 แสดงว่าสามารถนำตัวต้นแบบระบบราวตากผ้าอัจฉริยะไปใช้ได้จริง
และด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์จำนวน 20 ท่าน ใช้การเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช้แบบประเมินความเหมาะสมการออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบระบบ แบ่งเป็น 5 ด้าน คือ 1) ด้านความสามารถในการทำงานของระบบ 2) ด้านความถูกต้องในการทำงานของระบบ 3) ด้านความสะดวกและง่ายต่อการใช้งานระบบ 4)ด้านความเร็วในการทำงานของระบบ และ 5) ด้านการรักษาความปลอดภัยของระบบผลการวิจัย พบว่า การออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบระบบระบบวิเคราะห์อัลกอริทึมอีคัวแฮช เพื่อใช้ในการถอดรหัสสกุลเงินดิจิทัลซีแคช โดยใช้กระบวนการดาต้าวิชวลไลเซชันสำหรับการเลือกใช้กลุ่มเครือข่ายที่เหมาะสมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับดี มีค่าเฉลี่ย (X) รวมเท่ากับ 4.43 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) มีค่าเท่ากับ 0.59 แสดงว่าสามารถออกแบบและพัฒนาตัวต้นแบบระบบวิเคราะห์อัลกอริทึมอีคัวแฮชเพื่อใช้ในการถอดรหัสสกุลเงินดิจิทัลซีแคช โดยใช้กระบวนการดาต้าวิชวลไลเซชันสำหรับการเลือกใช้กลุ่มเครือข่ายที่เหมาะสมได้อย่างเหมาะสม
ผลการวิจัยพบว่า การออกแบบตัวต้นแบบระบบจัดการเลือกตั้งแบบเสียงส่วนใหญ่เพื่อการเลือกตั้งผู้นำภายในสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีการรู้จำใบหน้าอยู่ในระดับดี (x̄ = 4.46, S.D. = 0.66) แสดงว่าสามารถพัฒนาตัวต้นแบบระบบจัดการเลือกตั้งแบบเสียงส่วนใหญ่ เพื่อการเลือกตั้งผู้นำในสถานศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีรู้จำใบหน้าได้อย่างเหมาะสม