Translations (English-Thai) by Patra 黄博 Suwan
ดอเรียน เกรย์ บทที่เจ็ด ฉบับตัดต่อย่อความ
ดอเรียน เกรย์ (The Picture of Dorian Gray) วรรณกรรมสุดคลาสสิก เขียนโดย ออสการ์ ไวลด์ นักเขียนเลื่... more ดอเรียน เกรย์ (The Picture of Dorian Gray) วรรณกรรมสุดคลาสสิก เขียนโดย ออสการ์ ไวลด์ นักเขียนเลื่องชื่อเชื้อสายไอริช มีขายแล้ววันนี้ที่ Book Republic, Rabbithood Studio, ร้านเล่า, สุริวงศ์ บุ๊ค เซนเตอร์ ฯลฯ
..ดอเรียน เกรย์ หนุ่มชั้นสูงในมหานครลอนดอน ยอมแลกจิตวิญญาณของตนกับความอ่อนเยาว์ตลาดกาล.. เขามีหน้ากากสุภาพบุรุษงามโสภา และชีวิตลับอีกฝั่งฟากที่เผยโฉมที่แท้ในภาพเหมือนของตน ภาพเหมือนซึ่งสะท้อนเงาแย้งกับ ‘ความดีงาม’ แบบวิกตอเรียน สมัยศตวรรษที่ 19
อีกครั้ง ที่เรากลับมาตระหนักถึงปัญหาจากพลังขั้วตรงข้าม โดยพลังด้านหนึ่งเป็นสิ่งที่สังคมไม่อาจยอมรับ ไม่ว่ากาลเวลาจะผันผ่านนานเพียงใด มนุษย์ก็ยังพบกับปัญหาจากพลังขั้วตรงข้ามอย่างที่ดอเรียน เกรย์ ได้เผชิญ ซึ่งนำไปสู่คำถามซ้ำซากว่า มนุษย์จะสามารถโอบกอดขั้วตรงข้ามในจิตไว้ด้วยกันได้อย่างไรเพื่อเข้าถึงความบริบูรณ์ และเป็นอิสระจากทุกข์ในที่สุด
[ผู้ตีพิมพ์: สำนักพิมพ์มูลนิธิหยดธรรม
ปก: Rabbithood Studio
บรรณาธิการ: รวิวาร โฉมเฉลา
แปลใหม่: ภัทรารัตน์ สุวรรณวัฒนา]
The Picture of Dorian Gray แต่งโดย Oscar Wilde
แปลโดย ภัทรารัตน์ สุวรรณวัฒนา
The Picture of Dorian Gray แต่งโดย Oscar Wilde
ส่วนหนึ่งของ บทที่แปด แปลโดย ภัทรารัตน์ สุวรรณวัฒนา
กําเนิดพทุ ธศําสนําในแอฟริกํา(ฉบับปรับปรุงล่ําสุด) ตอนที่ 1
กําเนิดพุทธศาสนาในแอฟริกา (ฉบับปรับปรุงล่าสุด) ตอนที่ 2
Books by Patra 黄博 Suwan
“นั่งคุยกับจิ๋ม” ของ Eve Ensler มีที่มาจากการสัมภาษณ์กลุ่มผู้หญิงเกี่ยวกับจิ๋มของพวกเธอ และได้ก... more “นั่งคุยกับจิ๋ม” ของ Eve Ensler มีที่มาจากการสัมภาษณ์กลุ่มผู้หญิงเกี่ยวกับจิ๋มของพวกเธอ และได้กลายเป็นบทละครซึ่งเล่าเรื่องผ่านตัวละครที่มีความรู้สึกหลากหลาย ภายใต้บรรยากาศของเรื่องที่ต่างกันไป เราอาจสัมผัสได้ว่าปฏิกิริยาของตัวละครมากมายล้วนโต้ตอบอยู่กับการถูกกระทำด้วยความรุนแรง การถูกกระทำดังกล่าวไม่เพียงหมายถึงการที่ผู้หญิงถูกย่ำยีโดยผู้ชาย แต่อาจหมายรวมถึงการที่คนทุกเพศสภาพโดนทำให้รู้สึกว่าสิ่งที่เราเป็น พลังที่เรามีนั้นไม่ถูกต้อง และไร้คุณค่า..
เราเติบโตมาโดยถูกบอกเสมอว่าเป็นอะไร และต้องสัมพันธ์กับใครอย่างไร สิ่งที่นอกกรอบ แม้มีพลังรังสรรค์จึงกลับผิดเสียเต็มประดา ส่วนความสัมพันธ์ในกรอบอันดีงามที่โดนยัดเยียดตามกันมา หลายครั้งกลับเปิดช่องต่อการจองจำทำร้าย
ในแง่สภาวะจิต ความรุนแรงทั้งที่เกิดในระดับครอบครัวและที่ผ่านสถาบันต่างๆเช่น สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา ฯลฯ ได้เฆี่ยนตีคนมากมายที่ปรารถนาจะเป็น ‘ปรกติดี’ ให้สยบกรอบและยากจะเข้าถึงความบริบูรณ์ทางจิตวิญญาณ ด้วยมีสภาวะที่จำต้องซ่อนไว้ และไม่อาจยอมรับอย่างซื่อตรงโดยไม่พิพากษา
อย่างไรก็ดี นอกเหนือจากการใช้ความรุนแรงจองเวรโลกภายนอก ยังมีอีกทางเลือกแห่งการตระหนักและยอมรับสภาวะอย่างอ่อนโยนจากภายใน แน่นอนมันไม่ใช่เรื่องง่ายเลย ถ้าเราเคยถูกกระทำด้วยความรุนแรง รู้สึกแปลกแยก ไม่มีใครเข้าข้างเรา แต่การเติบโตทางจิตวิญญาณน่าจะเป็นไปได้ หากเราเริ่มตระหนักว่าเราเองก็เคยใช้ความรุนแรงกับสิ่งมีชีวิตอื่นเช่นเดียวกัน
รู้สึกขอบคุณและทึ่งในความสามารถของ Eve Ensler ที่สามารถแปรพลังคลั่งดิบให้เป็นศิลปะที่สร้างสรรค์ ผสานกับงานเคลื่อนไหวเพื่อยุติความรุนแรงต่อผู้หญิงและเพศอื่นๆ ขอบคุณหมอแป๊ก นพ.ยุทธพงศ์ พุทธรักษา แห่งโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรที่ช่วยอธิบายศัพท์ ทางการแพทย์หลายคำที่ปรากฎในหนังสือเล่มนี้ ขอบคุณพี่ชุ ผศ.ดร.ชุติมา มณีวัฒนา และพี่เอ อ.ดร.ณฐกรณ์ รัตนชัยวงศ์ แห่งภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ที่ช่วยอธิบายศัพท์ทางการละครหลายคำและแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับบทละครของ Eve Ensler ด้วยน้ำมิตร ขอบคุณพี่อวยพร เขื่อนแก้ว บรรณาธิการหนังสือ และนักเคลื่อนไหวทางสังคมที่ทำงานเพื่อผู้หญิงและคนที่โดนกระทำ ขอบคุณพี่ อวยพรที่ได้ทำงานร่วมกับผู้แปลอย่างอดทน และขอบคุณพระถนอมสิงห์ สุโกสโล ประธานมูลนิธิหยดธรรม ที่วางใจให้แปลหนังสือเล่มนี้อย่างกล้าหาญ ก้าวข้ามวิธีคิดแบ่งแยกเรื่องของฆราวาสและสมณเพศ
ภัทรารัตน์ สุวรรวัฒนา ผู้แปล
พ.ศ. 2556
""สายธรรมพระพุทธเจ้า" เป็นเสมือนสะพานทอดรอให้ผู้อ่านก้าวผ่านไปสู่โลกของพระพุทธศาสนาในยุคต้น อีกทั... more ""สายธรรมพระพุทธเจ้า" เป็นเสมือนสะพานทอดรอให้ผู้อ่านก้าวผ่านไปสู่โลกของพระพุทธศาสนาในยุคต้น อีกทั้งพระพุทธศาสนาสายมหายาน วัชรยาน และพุทธศาสนาในตะวันตก โดยนำเสนอเนื้อหาผ่านมุมมองของ เจน โฮป นักเขียนชาวตะวันตกผู้สืบสายธรรมจากวัชรธรรมาจารย์นาม เชอเกียม ตรุงปะ รินโปเช
ในจักรวาลอันไพศาลซึ่งรวบรวมความหลากหลาย “การปฏิเสธ” และ “ถูกปฏิเสธ” ดูจะเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญแห่งความเคลื่อนไหวหรือวิวัฒนาการ หลายครั้ง แง่มุมต่างๆแห่งวัชรยานอันละลานสีเกิดขึ้นจากการ "ถูกปฏิเสธ" สิ่งที่น่าสนใจอย่างของหนังสือเล่มนี้จึงเป็นภาพประกอบแบบคอลลาจ (collage) ของโบริน ฟาน ลูน ซึ่งได้ผสานรวมสิ่งต่างๆที่ดูผิวเผินนั้นเหมือนแปลกแยกหรือดูภายนอกเหมือนเป็น ‘คนละระดับ’ เข้าไว้ด้วยกัน และได้หยอกเหย้าความเคร่งขรึมศักดิ์สิทธิ์ของศาสนศิลป์ตามกรอบจารีตของศาสนาจัดตั้ง (religious establishments) ที่มักปฏิเสธอะไรบางอย่างทำให้มันดูเหมือนต่ำว่า ภาพคอลลาจประกอบหนังสือที่ดูไร้ระเบียบ ผิดเพี้ยนเหล่านี้แลที่สะท้อนปัญญาและอุปายะของวัชรยาน ซึ่ง “ไม่ปฏิเสธสิ่งใด” ด้วยก้าวข้ามทวิลักษณ์จึงไม่ยึดติดแม้ ‘ความดี’ ตามจารีตประเพณี ทุกท่วงทำนองแห่งประสบการณ์, แม้ดู “ห่างไกลศาสนา” เพียงใด, ล้วนเป็นหนทางสู่การตื่นรู้
อย่างไรก็ดี วัชรยานอันรุ่มรวยก็มิได้เกิดขึ้นได้เองเพียงลำพัง แต่อิงอาศัยกับมหายานและเถรวาท ยานทั้งสามเป็นเสมือนสัญลักษณ์แห่งประสบการณ์ทางจิตซึ่งแปรเปลี่ยนไปตามลำดับ โดยหินยานเป็นเหมือนฐานปราสาทแห่งความรู้แจ้ง มหายานเป็นเสมือนกำแพง และวัชรยานเป็นเสมือนหลังคาซึ่งทำให้ปราสาทบริบูรณ์
ในอีกแง่หนึ่ง อาจกล่าวได้ว่าพุทธศาสนาแผ่ไปดุจสายน้ำซึ่งเปลี่ยนรูปลักษณ์ไปตามบริบท ในหนังสือเล่มนี้กล่าวถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการย้ายถิ่นของพุทธศาสนาจากตะวันออกสู่ตะวันตก เช่น ชาวตะวันตกเรียกร้องให้มีความเสมอภาคระหว่างอาจารย์กับศิษย์ และชายกับหญิง เป็นต้น ตัวอย่างที่น่าสนใจในประเด็นดังกล่าวปรากฏในงานวิจัยเกี่ยวกับความตึงเครียดในวัดตะวันตกในสายหลวงปู่ชา ภายในวัดเหล่านี้ พระผู้น้อยชาวตะวันตกไม่อาจยอมรับอำนาจรวมศูนย์ของภิกษุเถระตะวันตกผู้เป็นทั้งอาจารย์และเจ้าอาวาสได้ ในขณะเดียวกันก็มีการเรียกร้องให้บวชภิกษุณีภายใต้เงื้อมเงาพุทธสายเถรวาทนี้ โดยฝ่ายเสียเปรียบต่อสู้ด้วยกลยุทธ์การแยกพุทธศาสนา ‘ไทย’ ออกจากพุทธศาสนา ‘เดิมแท้’ ผ่านการตีความพระไตรปิฏกเป็นหลัก โดยสรุปว่าพุทธศาสนา ‘เดิมแท้’ มีลักษณะส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคในระบอบธรรมาธิปไตย (Dhammo-cracy)
...สุดท้าย ขอบคุณพี่ปกรณ์ เลิศเสถียรชัยที่แนะนำให้แปลหนังสือเล่มนี้ ขอบคุณคุณทวีศักดิ์ พึงลำพู ผู้ช่วยบรรณาธิการโครงการสรรพสาสน์ สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก ที่ได้ร่วมทำงานกันด้วยความอดทน ขอบคุณพี่ดอน ศุภโชค ชุมสายฯ และอาจารย์คเวสโก (สาธารณรัฐเช็ก) ที่เป็นเสมือนเพื่อนแท้ทางจิตวิญญาณตลอดมา ท่านทั้งสองไม่เพียง ให้ความเป็นเพื่อนอย่างสังฆะ ให้กำลังใจยามเหนื่อยล้าสิ้นหวัง และตักเตือนผู้แปลในเรื่องทางจิตวิญญาณด้วยความเมตตาอย่างยิ่ง หากแต่ยังช่วยเหลือแนะนำผู้แปลในด้านวิชาการอีกด้วย โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและในการแปลหนังสือเล่มนี้ นอกจากนี้ ขอบคุณรศ. ดร.กฤษดาวรรณ หงส์ลดารมภ์ ที่ได้อธิบายเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวกับพุทธวัชรยานให้ด้วยความเมตตากรุณา ขอบคุณรศ.ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์ และน้องจ๊อยซ์ ลิมปนุสรณ์ ที่ช่วยขยายความเข้าใจและลงความเห็นเกี่ยวกับพุทธศาสนาและลัทธิความเชื่อบางส่วนในจีน ขอบคุณอาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ปัญญาชนคนสำคัญของไทย ที่ได้เมตตาเขียนปัจฉิมกถาให้หนังสือเล่มนี้ ขอบคุณคุณพ่อคุณแม่ที่ให้กำเนิดเลี้ยงดูจนเติบโตด้วยความยากลำบาก ที่เข้าใจและสนับสนุนลูกในเส้นทางที่เรียกกันว่าจิตวิญญาณตลอดมา แม้ว่ามันจะสวนทางกับการทำมาหากินในโลกกระแสหลัก โลกแห่งทุนและเงินตรา ขอบคุณเพื่อนๆที่เป็นกำลังใจและช่วยแสดงความเห็นเกี่ยวกับหนังสือ ขอบคุณพี่ตั้ม วิจักขณ์ พานิช ผู้เขียนคำนิยม ที่เป็นเสมือนกายปรากฎของคุรุแห่งปัญญา
ขอบคุณภาพวาดพระอักโษภยพุทธะ (ต้นพุทธศตวรรษที่ 19) ที่ปรากฏขึ้นซ้อนภาพนักรบผู้กล้าแห่งตันตระ แลส่องสะท้อนทุกด้าน โดยมิได้ปิดบังอาพรางด้านที่คนทั่วไปมักแอบซ่อนไว้ในเงามืด
การเห็นหงส์ดำในตนเองจำเป็นอย่างมากต่อความตื่นของผู้ฝักใฝ่ “ธรรม” เพราะมันเป็นส่วนหนึ่งของธรรม มิเช่นนั้นเราก็จะหลอกตัวเองไปตลอดด้วยตัวตนแห่งหงส์ขาว ที่เราสร้างขึ้นและลุ่มหลง เราจะเชื่อว่าเราได้พัฒนาจิตวิญญาณแล้วอย่างล้ำเลิศ ทว่าแท้จริงมันเป็นกับดักจากความเห็นแก่ตัวและวัตถุนิยมทางจิตวิญญาณ การยอมรับวิมานเมฆของตนเป็นสิ่งเจ็บปวด ทว่าการเติบโตและความเข้าใจทางจิตวิญญาณนั้นก็ต้องแลกมาด้วยความเจ็บปวด และแทนที่เราจะขอบคุณตัวเร่งปฏิกริยาแห่งความเข้าใจตนเอง เรามักกล่าวหาว่าบุคคลต่างๆว่าเป็นเหตุแห่งความเจ็บปวดนั้นด้วยความเปราะบางและความไม่สมบูรณ์แห่งความเป็นมนุษย์ ต่อเมื่อความเจ็บปวดนั้นได้ตกผลึกและความเมตตากรุณาอันแท้จริงได้บังเกิด เราจึงจะเริ่มเข้าใจสภาพธรรมที่ผ่านมาในแผ่นฟิลม์นัวร์ที่หมุนทวนเข็มนาฬิกา และหลายครั้ง เราจะพบว่าการต่อสู้ทางอุดมการณ์กันอย่างดุเดือด ภายใต้พันธนาการแห่งภาษาที่เราต้องใช้อธิบายความรู้สึกนึกคิดนั้น ..ก็สูญญะ ด้วยว่าในท่ี่สุดสิ่งต่างๆที่เราได้พูดออกมารบรากันต่างย้อนแย้งและขัดกันในตัวของมันเอง จนไม่อาจยึดถือเป็นสรณะอะไรได้ อย่างที่ท่านนาครชุนเคยแสดงให้เห็นแล้ว..
ภัทรารัตน์ สุวรรวัฒนา
ผู้แปล"
เอกสารประกอบการเรียนวิชา CH435 中文报刊阅读 (พร้อม Note อธิบายประเด็นหลัก/ความหมายภาษาไทยของศัพท์จีนต่า... more เอกสารประกอบการเรียนวิชา CH435 中文报刊阅读 (พร้อม Note อธิบายประเด็นหลัก/ความหมายภาษาไทยของศัพท์จีนต่างๆ) เอกจีน ศิลปศาสตร์ มธ. พ.ศ. 2548,โดย ภัทรารัตน์ สุวรรณวัฒนา
Available at (online) https://acrobat.com/app.html#d=oCNfTu3md2r8BUSkzy2Bhg
Uploads
Translations (English-Thai) by Patra 黄博 Suwan
..ดอเรียน เกรย์ หนุ่มชั้นสูงในมหานครลอนดอน ยอมแลกจิตวิญญาณของตนกับความอ่อนเยาว์ตลาดกาล.. เขามีหน้ากากสุภาพบุรุษงามโสภา และชีวิตลับอีกฝั่งฟากที่เผยโฉมที่แท้ในภาพเหมือนของตน ภาพเหมือนซึ่งสะท้อนเงาแย้งกับ ‘ความดีงาม’ แบบวิกตอเรียน สมัยศตวรรษที่ 19
อีกครั้ง ที่เรากลับมาตระหนักถึงปัญหาจากพลังขั้วตรงข้าม โดยพลังด้านหนึ่งเป็นสิ่งที่สังคมไม่อาจยอมรับ ไม่ว่ากาลเวลาจะผันผ่านนานเพียงใด มนุษย์ก็ยังพบกับปัญหาจากพลังขั้วตรงข้ามอย่างที่ดอเรียน เกรย์ ได้เผชิญ ซึ่งนำไปสู่คำถามซ้ำซากว่า มนุษย์จะสามารถโอบกอดขั้วตรงข้ามในจิตไว้ด้วยกันได้อย่างไรเพื่อเข้าถึงความบริบูรณ์ และเป็นอิสระจากทุกข์ในที่สุด
[ผู้ตีพิมพ์: สำนักพิมพ์มูลนิธิหยดธรรม
ปก: Rabbithood Studio
บรรณาธิการ: รวิวาร โฉมเฉลา
แปลใหม่: ภัทรารัตน์ สุวรรณวัฒนา]
Books by Patra 黄博 Suwan
เราเติบโตมาโดยถูกบอกเสมอว่าเป็นอะไร และต้องสัมพันธ์กับใครอย่างไร สิ่งที่นอกกรอบ แม้มีพลังรังสรรค์จึงกลับผิดเสียเต็มประดา ส่วนความสัมพันธ์ในกรอบอันดีงามที่โดนยัดเยียดตามกันมา หลายครั้งกลับเปิดช่องต่อการจองจำทำร้าย
ในแง่สภาวะจิต ความรุนแรงทั้งที่เกิดในระดับครอบครัวและที่ผ่านสถาบันต่างๆเช่น สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา ฯลฯ ได้เฆี่ยนตีคนมากมายที่ปรารถนาจะเป็น ‘ปรกติดี’ ให้สยบกรอบและยากจะเข้าถึงความบริบูรณ์ทางจิตวิญญาณ ด้วยมีสภาวะที่จำต้องซ่อนไว้ และไม่อาจยอมรับอย่างซื่อตรงโดยไม่พิพากษา
อย่างไรก็ดี นอกเหนือจากการใช้ความรุนแรงจองเวรโลกภายนอก ยังมีอีกทางเลือกแห่งการตระหนักและยอมรับสภาวะอย่างอ่อนโยนจากภายใน แน่นอนมันไม่ใช่เรื่องง่ายเลย ถ้าเราเคยถูกกระทำด้วยความรุนแรง รู้สึกแปลกแยก ไม่มีใครเข้าข้างเรา แต่การเติบโตทางจิตวิญญาณน่าจะเป็นไปได้ หากเราเริ่มตระหนักว่าเราเองก็เคยใช้ความรุนแรงกับสิ่งมีชีวิตอื่นเช่นเดียวกัน
รู้สึกขอบคุณและทึ่งในความสามารถของ Eve Ensler ที่สามารถแปรพลังคลั่งดิบให้เป็นศิลปะที่สร้างสรรค์ ผสานกับงานเคลื่อนไหวเพื่อยุติความรุนแรงต่อผู้หญิงและเพศอื่นๆ ขอบคุณหมอแป๊ก นพ.ยุทธพงศ์ พุทธรักษา แห่งโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรที่ช่วยอธิบายศัพท์ ทางการแพทย์หลายคำที่ปรากฎในหนังสือเล่มนี้ ขอบคุณพี่ชุ ผศ.ดร.ชุติมา มณีวัฒนา และพี่เอ อ.ดร.ณฐกรณ์ รัตนชัยวงศ์ แห่งภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ที่ช่วยอธิบายศัพท์ทางการละครหลายคำและแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับบทละครของ Eve Ensler ด้วยน้ำมิตร ขอบคุณพี่อวยพร เขื่อนแก้ว บรรณาธิการหนังสือ และนักเคลื่อนไหวทางสังคมที่ทำงานเพื่อผู้หญิงและคนที่โดนกระทำ ขอบคุณพี่ อวยพรที่ได้ทำงานร่วมกับผู้แปลอย่างอดทน และขอบคุณพระถนอมสิงห์ สุโกสโล ประธานมูลนิธิหยดธรรม ที่วางใจให้แปลหนังสือเล่มนี้อย่างกล้าหาญ ก้าวข้ามวิธีคิดแบ่งแยกเรื่องของฆราวาสและสมณเพศ
ภัทรารัตน์ สุวรรวัฒนา ผู้แปล
พ.ศ. 2556
ในจักรวาลอันไพศาลซึ่งรวบรวมความหลากหลาย “การปฏิเสธ” และ “ถูกปฏิเสธ” ดูจะเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญแห่งความเคลื่อนไหวหรือวิวัฒนาการ หลายครั้ง แง่มุมต่างๆแห่งวัชรยานอันละลานสีเกิดขึ้นจากการ "ถูกปฏิเสธ" สิ่งที่น่าสนใจอย่างของหนังสือเล่มนี้จึงเป็นภาพประกอบแบบคอลลาจ (collage) ของโบริน ฟาน ลูน ซึ่งได้ผสานรวมสิ่งต่างๆที่ดูผิวเผินนั้นเหมือนแปลกแยกหรือดูภายนอกเหมือนเป็น ‘คนละระดับ’ เข้าไว้ด้วยกัน และได้หยอกเหย้าความเคร่งขรึมศักดิ์สิทธิ์ของศาสนศิลป์ตามกรอบจารีตของศาสนาจัดตั้ง (religious establishments) ที่มักปฏิเสธอะไรบางอย่างทำให้มันดูเหมือนต่ำว่า ภาพคอลลาจประกอบหนังสือที่ดูไร้ระเบียบ ผิดเพี้ยนเหล่านี้แลที่สะท้อนปัญญาและอุปายะของวัชรยาน ซึ่ง “ไม่ปฏิเสธสิ่งใด” ด้วยก้าวข้ามทวิลักษณ์จึงไม่ยึดติดแม้ ‘ความดี’ ตามจารีตประเพณี ทุกท่วงทำนองแห่งประสบการณ์, แม้ดู “ห่างไกลศาสนา” เพียงใด, ล้วนเป็นหนทางสู่การตื่นรู้
อย่างไรก็ดี วัชรยานอันรุ่มรวยก็มิได้เกิดขึ้นได้เองเพียงลำพัง แต่อิงอาศัยกับมหายานและเถรวาท ยานทั้งสามเป็นเสมือนสัญลักษณ์แห่งประสบการณ์ทางจิตซึ่งแปรเปลี่ยนไปตามลำดับ โดยหินยานเป็นเหมือนฐานปราสาทแห่งความรู้แจ้ง มหายานเป็นเสมือนกำแพง และวัชรยานเป็นเสมือนหลังคาซึ่งทำให้ปราสาทบริบูรณ์
ในอีกแง่หนึ่ง อาจกล่าวได้ว่าพุทธศาสนาแผ่ไปดุจสายน้ำซึ่งเปลี่ยนรูปลักษณ์ไปตามบริบท ในหนังสือเล่มนี้กล่าวถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการย้ายถิ่นของพุทธศาสนาจากตะวันออกสู่ตะวันตก เช่น ชาวตะวันตกเรียกร้องให้มีความเสมอภาคระหว่างอาจารย์กับศิษย์ และชายกับหญิง เป็นต้น ตัวอย่างที่น่าสนใจในประเด็นดังกล่าวปรากฏในงานวิจัยเกี่ยวกับความตึงเครียดในวัดตะวันตกในสายหลวงปู่ชา ภายในวัดเหล่านี้ พระผู้น้อยชาวตะวันตกไม่อาจยอมรับอำนาจรวมศูนย์ของภิกษุเถระตะวันตกผู้เป็นทั้งอาจารย์และเจ้าอาวาสได้ ในขณะเดียวกันก็มีการเรียกร้องให้บวชภิกษุณีภายใต้เงื้อมเงาพุทธสายเถรวาทนี้ โดยฝ่ายเสียเปรียบต่อสู้ด้วยกลยุทธ์การแยกพุทธศาสนา ‘ไทย’ ออกจากพุทธศาสนา ‘เดิมแท้’ ผ่านการตีความพระไตรปิฏกเป็นหลัก โดยสรุปว่าพุทธศาสนา ‘เดิมแท้’ มีลักษณะส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคในระบอบธรรมาธิปไตย (Dhammo-cracy)
...สุดท้าย ขอบคุณพี่ปกรณ์ เลิศเสถียรชัยที่แนะนำให้แปลหนังสือเล่มนี้ ขอบคุณคุณทวีศักดิ์ พึงลำพู ผู้ช่วยบรรณาธิการโครงการสรรพสาสน์ สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก ที่ได้ร่วมทำงานกันด้วยความอดทน ขอบคุณพี่ดอน ศุภโชค ชุมสายฯ และอาจารย์คเวสโก (สาธารณรัฐเช็ก) ที่เป็นเสมือนเพื่อนแท้ทางจิตวิญญาณตลอดมา ท่านทั้งสองไม่เพียง ให้ความเป็นเพื่อนอย่างสังฆะ ให้กำลังใจยามเหนื่อยล้าสิ้นหวัง และตักเตือนผู้แปลในเรื่องทางจิตวิญญาณด้วยความเมตตาอย่างยิ่ง หากแต่ยังช่วยเหลือแนะนำผู้แปลในด้านวิชาการอีกด้วย โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและในการแปลหนังสือเล่มนี้ นอกจากนี้ ขอบคุณรศ. ดร.กฤษดาวรรณ หงส์ลดารมภ์ ที่ได้อธิบายเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวกับพุทธวัชรยานให้ด้วยความเมตตากรุณา ขอบคุณรศ.ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์ และน้องจ๊อยซ์ ลิมปนุสรณ์ ที่ช่วยขยายความเข้าใจและลงความเห็นเกี่ยวกับพุทธศาสนาและลัทธิความเชื่อบางส่วนในจีน ขอบคุณอาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ปัญญาชนคนสำคัญของไทย ที่ได้เมตตาเขียนปัจฉิมกถาให้หนังสือเล่มนี้ ขอบคุณคุณพ่อคุณแม่ที่ให้กำเนิดเลี้ยงดูจนเติบโตด้วยความยากลำบาก ที่เข้าใจและสนับสนุนลูกในเส้นทางที่เรียกกันว่าจิตวิญญาณตลอดมา แม้ว่ามันจะสวนทางกับการทำมาหากินในโลกกระแสหลัก โลกแห่งทุนและเงินตรา ขอบคุณเพื่อนๆที่เป็นกำลังใจและช่วยแสดงความเห็นเกี่ยวกับหนังสือ ขอบคุณพี่ตั้ม วิจักขณ์ พานิช ผู้เขียนคำนิยม ที่เป็นเสมือนกายปรากฎของคุรุแห่งปัญญา
ขอบคุณภาพวาดพระอักโษภยพุทธะ (ต้นพุทธศตวรรษที่ 19) ที่ปรากฏขึ้นซ้อนภาพนักรบผู้กล้าแห่งตันตระ แลส่องสะท้อนทุกด้าน โดยมิได้ปิดบังอาพรางด้านที่คนทั่วไปมักแอบซ่อนไว้ในเงามืด
การเห็นหงส์ดำในตนเองจำเป็นอย่างมากต่อความตื่นของผู้ฝักใฝ่ “ธรรม” เพราะมันเป็นส่วนหนึ่งของธรรม มิเช่นนั้นเราก็จะหลอกตัวเองไปตลอดด้วยตัวตนแห่งหงส์ขาว ที่เราสร้างขึ้นและลุ่มหลง เราจะเชื่อว่าเราได้พัฒนาจิตวิญญาณแล้วอย่างล้ำเลิศ ทว่าแท้จริงมันเป็นกับดักจากความเห็นแก่ตัวและวัตถุนิยมทางจิตวิญญาณ การยอมรับวิมานเมฆของตนเป็นสิ่งเจ็บปวด ทว่าการเติบโตและความเข้าใจทางจิตวิญญาณนั้นก็ต้องแลกมาด้วยความเจ็บปวด และแทนที่เราจะขอบคุณตัวเร่งปฏิกริยาแห่งความเข้าใจตนเอง เรามักกล่าวหาว่าบุคคลต่างๆว่าเป็นเหตุแห่งความเจ็บปวดนั้นด้วยความเปราะบางและความไม่สมบูรณ์แห่งความเป็นมนุษย์ ต่อเมื่อความเจ็บปวดนั้นได้ตกผลึกและความเมตตากรุณาอันแท้จริงได้บังเกิด เราจึงจะเริ่มเข้าใจสภาพธรรมที่ผ่านมาในแผ่นฟิลม์นัวร์ที่หมุนทวนเข็มนาฬิกา และหลายครั้ง เราจะพบว่าการต่อสู้ทางอุดมการณ์กันอย่างดุเดือด ภายใต้พันธนาการแห่งภาษาที่เราต้องใช้อธิบายความรู้สึกนึกคิดนั้น ..ก็สูญญะ ด้วยว่าในท่ี่สุดสิ่งต่างๆที่เราได้พูดออกมารบรากันต่างย้อนแย้งและขัดกันในตัวของมันเอง จนไม่อาจยึดถือเป็นสรณะอะไรได้ อย่างที่ท่านนาครชุนเคยแสดงให้เห็นแล้ว..
ภัทรารัตน์ สุวรรวัฒนา
ผู้แปล"
Available at (online) https://acrobat.com/app.html#d=oCNfTu3md2r8BUSkzy2Bhg
..ดอเรียน เกรย์ หนุ่มชั้นสูงในมหานครลอนดอน ยอมแลกจิตวิญญาณของตนกับความอ่อนเยาว์ตลาดกาล.. เขามีหน้ากากสุภาพบุรุษงามโสภา และชีวิตลับอีกฝั่งฟากที่เผยโฉมที่แท้ในภาพเหมือนของตน ภาพเหมือนซึ่งสะท้อนเงาแย้งกับ ‘ความดีงาม’ แบบวิกตอเรียน สมัยศตวรรษที่ 19
อีกครั้ง ที่เรากลับมาตระหนักถึงปัญหาจากพลังขั้วตรงข้าม โดยพลังด้านหนึ่งเป็นสิ่งที่สังคมไม่อาจยอมรับ ไม่ว่ากาลเวลาจะผันผ่านนานเพียงใด มนุษย์ก็ยังพบกับปัญหาจากพลังขั้วตรงข้ามอย่างที่ดอเรียน เกรย์ ได้เผชิญ ซึ่งนำไปสู่คำถามซ้ำซากว่า มนุษย์จะสามารถโอบกอดขั้วตรงข้ามในจิตไว้ด้วยกันได้อย่างไรเพื่อเข้าถึงความบริบูรณ์ และเป็นอิสระจากทุกข์ในที่สุด
[ผู้ตีพิมพ์: สำนักพิมพ์มูลนิธิหยดธรรม
ปก: Rabbithood Studio
บรรณาธิการ: รวิวาร โฉมเฉลา
แปลใหม่: ภัทรารัตน์ สุวรรณวัฒนา]
เราเติบโตมาโดยถูกบอกเสมอว่าเป็นอะไร และต้องสัมพันธ์กับใครอย่างไร สิ่งที่นอกกรอบ แม้มีพลังรังสรรค์จึงกลับผิดเสียเต็มประดา ส่วนความสัมพันธ์ในกรอบอันดีงามที่โดนยัดเยียดตามกันมา หลายครั้งกลับเปิดช่องต่อการจองจำทำร้าย
ในแง่สภาวะจิต ความรุนแรงทั้งที่เกิดในระดับครอบครัวและที่ผ่านสถาบันต่างๆเช่น สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา ฯลฯ ได้เฆี่ยนตีคนมากมายที่ปรารถนาจะเป็น ‘ปรกติดี’ ให้สยบกรอบและยากจะเข้าถึงความบริบูรณ์ทางจิตวิญญาณ ด้วยมีสภาวะที่จำต้องซ่อนไว้ และไม่อาจยอมรับอย่างซื่อตรงโดยไม่พิพากษา
อย่างไรก็ดี นอกเหนือจากการใช้ความรุนแรงจองเวรโลกภายนอก ยังมีอีกทางเลือกแห่งการตระหนักและยอมรับสภาวะอย่างอ่อนโยนจากภายใน แน่นอนมันไม่ใช่เรื่องง่ายเลย ถ้าเราเคยถูกกระทำด้วยความรุนแรง รู้สึกแปลกแยก ไม่มีใครเข้าข้างเรา แต่การเติบโตทางจิตวิญญาณน่าจะเป็นไปได้ หากเราเริ่มตระหนักว่าเราเองก็เคยใช้ความรุนแรงกับสิ่งมีชีวิตอื่นเช่นเดียวกัน
รู้สึกขอบคุณและทึ่งในความสามารถของ Eve Ensler ที่สามารถแปรพลังคลั่งดิบให้เป็นศิลปะที่สร้างสรรค์ ผสานกับงานเคลื่อนไหวเพื่อยุติความรุนแรงต่อผู้หญิงและเพศอื่นๆ ขอบคุณหมอแป๊ก นพ.ยุทธพงศ์ พุทธรักษา แห่งโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรที่ช่วยอธิบายศัพท์ ทางการแพทย์หลายคำที่ปรากฎในหนังสือเล่มนี้ ขอบคุณพี่ชุ ผศ.ดร.ชุติมา มณีวัฒนา และพี่เอ อ.ดร.ณฐกรณ์ รัตนชัยวงศ์ แห่งภาควิชาศิลปะการแสดง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ที่ช่วยอธิบายศัพท์ทางการละครหลายคำและแลกเปลี่ยนความเห็นเกี่ยวกับบทละครของ Eve Ensler ด้วยน้ำมิตร ขอบคุณพี่อวยพร เขื่อนแก้ว บรรณาธิการหนังสือ และนักเคลื่อนไหวทางสังคมที่ทำงานเพื่อผู้หญิงและคนที่โดนกระทำ ขอบคุณพี่ อวยพรที่ได้ทำงานร่วมกับผู้แปลอย่างอดทน และขอบคุณพระถนอมสิงห์ สุโกสโล ประธานมูลนิธิหยดธรรม ที่วางใจให้แปลหนังสือเล่มนี้อย่างกล้าหาญ ก้าวข้ามวิธีคิดแบ่งแยกเรื่องของฆราวาสและสมณเพศ
ภัทรารัตน์ สุวรรวัฒนา ผู้แปล
พ.ศ. 2556
ในจักรวาลอันไพศาลซึ่งรวบรวมความหลากหลาย “การปฏิเสธ” และ “ถูกปฏิเสธ” ดูจะเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญแห่งความเคลื่อนไหวหรือวิวัฒนาการ หลายครั้ง แง่มุมต่างๆแห่งวัชรยานอันละลานสีเกิดขึ้นจากการ "ถูกปฏิเสธ" สิ่งที่น่าสนใจอย่างของหนังสือเล่มนี้จึงเป็นภาพประกอบแบบคอลลาจ (collage) ของโบริน ฟาน ลูน ซึ่งได้ผสานรวมสิ่งต่างๆที่ดูผิวเผินนั้นเหมือนแปลกแยกหรือดูภายนอกเหมือนเป็น ‘คนละระดับ’ เข้าไว้ด้วยกัน และได้หยอกเหย้าความเคร่งขรึมศักดิ์สิทธิ์ของศาสนศิลป์ตามกรอบจารีตของศาสนาจัดตั้ง (religious establishments) ที่มักปฏิเสธอะไรบางอย่างทำให้มันดูเหมือนต่ำว่า ภาพคอลลาจประกอบหนังสือที่ดูไร้ระเบียบ ผิดเพี้ยนเหล่านี้แลที่สะท้อนปัญญาและอุปายะของวัชรยาน ซึ่ง “ไม่ปฏิเสธสิ่งใด” ด้วยก้าวข้ามทวิลักษณ์จึงไม่ยึดติดแม้ ‘ความดี’ ตามจารีตประเพณี ทุกท่วงทำนองแห่งประสบการณ์, แม้ดู “ห่างไกลศาสนา” เพียงใด, ล้วนเป็นหนทางสู่การตื่นรู้
อย่างไรก็ดี วัชรยานอันรุ่มรวยก็มิได้เกิดขึ้นได้เองเพียงลำพัง แต่อิงอาศัยกับมหายานและเถรวาท ยานทั้งสามเป็นเสมือนสัญลักษณ์แห่งประสบการณ์ทางจิตซึ่งแปรเปลี่ยนไปตามลำดับ โดยหินยานเป็นเหมือนฐานปราสาทแห่งความรู้แจ้ง มหายานเป็นเสมือนกำแพง และวัชรยานเป็นเสมือนหลังคาซึ่งทำให้ปราสาทบริบูรณ์
ในอีกแง่หนึ่ง อาจกล่าวได้ว่าพุทธศาสนาแผ่ไปดุจสายน้ำซึ่งเปลี่ยนรูปลักษณ์ไปตามบริบท ในหนังสือเล่มนี้กล่าวถึงปัญหาที่เกิดขึ้นจากการย้ายถิ่นของพุทธศาสนาจากตะวันออกสู่ตะวันตก เช่น ชาวตะวันตกเรียกร้องให้มีความเสมอภาคระหว่างอาจารย์กับศิษย์ และชายกับหญิง เป็นต้น ตัวอย่างที่น่าสนใจในประเด็นดังกล่าวปรากฏในงานวิจัยเกี่ยวกับความตึงเครียดในวัดตะวันตกในสายหลวงปู่ชา ภายในวัดเหล่านี้ พระผู้น้อยชาวตะวันตกไม่อาจยอมรับอำนาจรวมศูนย์ของภิกษุเถระตะวันตกผู้เป็นทั้งอาจารย์และเจ้าอาวาสได้ ในขณะเดียวกันก็มีการเรียกร้องให้บวชภิกษุณีภายใต้เงื้อมเงาพุทธสายเถรวาทนี้ โดยฝ่ายเสียเปรียบต่อสู้ด้วยกลยุทธ์การแยกพุทธศาสนา ‘ไทย’ ออกจากพุทธศาสนา ‘เดิมแท้’ ผ่านการตีความพระไตรปิฏกเป็นหลัก โดยสรุปว่าพุทธศาสนา ‘เดิมแท้’ มีลักษณะส่งเสริมสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคในระบอบธรรมาธิปไตย (Dhammo-cracy)
...สุดท้าย ขอบคุณพี่ปกรณ์ เลิศเสถียรชัยที่แนะนำให้แปลหนังสือเล่มนี้ ขอบคุณคุณทวีศักดิ์ พึงลำพู ผู้ช่วยบรรณาธิการโครงการสรรพสาสน์ สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก ที่ได้ร่วมทำงานกันด้วยความอดทน ขอบคุณพี่ดอน ศุภโชค ชุมสายฯ และอาจารย์คเวสโก (สาธารณรัฐเช็ก) ที่เป็นเสมือนเพื่อนแท้ทางจิตวิญญาณตลอดมา ท่านทั้งสองไม่เพียง ให้ความเป็นเพื่อนอย่างสังฆะ ให้กำลังใจยามเหนื่อยล้าสิ้นหวัง และตักเตือนผู้แปลในเรื่องทางจิตวิญญาณด้วยความเมตตาอย่างยิ่ง หากแต่ยังช่วยเหลือแนะนำผู้แปลในด้านวิชาการอีกด้วย โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับศาสนาและในการแปลหนังสือเล่มนี้ นอกจากนี้ ขอบคุณรศ. ดร.กฤษดาวรรณ หงส์ลดารมภ์ ที่ได้อธิบายเนื้อหาบางส่วนเกี่ยวกับพุทธวัชรยานให้ด้วยความเมตตากรุณา ขอบคุณรศ.ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์ และน้องจ๊อยซ์ ลิมปนุสรณ์ ที่ช่วยขยายความเข้าใจและลงความเห็นเกี่ยวกับพุทธศาสนาและลัทธิความเชื่อบางส่วนในจีน ขอบคุณอาจารย์สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ปัญญาชนคนสำคัญของไทย ที่ได้เมตตาเขียนปัจฉิมกถาให้หนังสือเล่มนี้ ขอบคุณคุณพ่อคุณแม่ที่ให้กำเนิดเลี้ยงดูจนเติบโตด้วยความยากลำบาก ที่เข้าใจและสนับสนุนลูกในเส้นทางที่เรียกกันว่าจิตวิญญาณตลอดมา แม้ว่ามันจะสวนทางกับการทำมาหากินในโลกกระแสหลัก โลกแห่งทุนและเงินตรา ขอบคุณเพื่อนๆที่เป็นกำลังใจและช่วยแสดงความเห็นเกี่ยวกับหนังสือ ขอบคุณพี่ตั้ม วิจักขณ์ พานิช ผู้เขียนคำนิยม ที่เป็นเสมือนกายปรากฎของคุรุแห่งปัญญา
ขอบคุณภาพวาดพระอักโษภยพุทธะ (ต้นพุทธศตวรรษที่ 19) ที่ปรากฏขึ้นซ้อนภาพนักรบผู้กล้าแห่งตันตระ แลส่องสะท้อนทุกด้าน โดยมิได้ปิดบังอาพรางด้านที่คนทั่วไปมักแอบซ่อนไว้ในเงามืด
การเห็นหงส์ดำในตนเองจำเป็นอย่างมากต่อความตื่นของผู้ฝักใฝ่ “ธรรม” เพราะมันเป็นส่วนหนึ่งของธรรม มิเช่นนั้นเราก็จะหลอกตัวเองไปตลอดด้วยตัวตนแห่งหงส์ขาว ที่เราสร้างขึ้นและลุ่มหลง เราจะเชื่อว่าเราได้พัฒนาจิตวิญญาณแล้วอย่างล้ำเลิศ ทว่าแท้จริงมันเป็นกับดักจากความเห็นแก่ตัวและวัตถุนิยมทางจิตวิญญาณ การยอมรับวิมานเมฆของตนเป็นสิ่งเจ็บปวด ทว่าการเติบโตและความเข้าใจทางจิตวิญญาณนั้นก็ต้องแลกมาด้วยความเจ็บปวด และแทนที่เราจะขอบคุณตัวเร่งปฏิกริยาแห่งความเข้าใจตนเอง เรามักกล่าวหาว่าบุคคลต่างๆว่าเป็นเหตุแห่งความเจ็บปวดนั้นด้วยความเปราะบางและความไม่สมบูรณ์แห่งความเป็นมนุษย์ ต่อเมื่อความเจ็บปวดนั้นได้ตกผลึกและความเมตตากรุณาอันแท้จริงได้บังเกิด เราจึงจะเริ่มเข้าใจสภาพธรรมที่ผ่านมาในแผ่นฟิลม์นัวร์ที่หมุนทวนเข็มนาฬิกา และหลายครั้ง เราจะพบว่าการต่อสู้ทางอุดมการณ์กันอย่างดุเดือด ภายใต้พันธนาการแห่งภาษาที่เราต้องใช้อธิบายความรู้สึกนึกคิดนั้น ..ก็สูญญะ ด้วยว่าในท่ี่สุดสิ่งต่างๆที่เราได้พูดออกมารบรากันต่างย้อนแย้งและขัดกันในตัวของมันเอง จนไม่อาจยึดถือเป็นสรณะอะไรได้ อย่างที่ท่านนาครชุนเคยแสดงให้เห็นแล้ว..
ภัทรารัตน์ สุวรรวัฒนา
ผู้แปล"
Available at (online) https://acrobat.com/app.html#d=oCNfTu3md2r8BUSkzy2Bhg
(Planting Dhamma Seeds: The Emergence of Buddhism in Africa)
แปลและปรับเปลี่ยนจาก The place of the Naga in Thai Buddhism, from pre-modern Siam to modernised Thailand, Section One : The place of the Naga in the past เขียน (พ.ศ.๒๕๕๑) แปลและปรับเปลี่ยนบทความ (พ.ศ.๒๕๕๒) โดย ภัทรารัตน์ สุวรรณวัฒนา หมายเหตุ* บทความนี้เขียนจากความชอบส่วนตัว และไม่เน้นรูปแบบที่ถูกต้องในเชิงวิชาการ
บทที่หนึ่ง : ที่ทางของพญานาคในอดีตกาล
แปลและปรับเปลี่ยนจาก The place of the Naga in Thai Buddhism, from pre-modern Siam to modernised Thailand, Section One : The place of the Naga in the past เขียน (พ.ศ.๒๕๕๑) แปลและปรับเปลี่ยนบทความ (พ.ศ.๒๕๕๒) โดย ภัทรารัตน์ สุวรรณวัฒนา หมายเหตุ* บทความนี้เขียนจากความชอบส่วนตัว และไม่เน้นรูปแบบที่ถูกต้องในเชิงวิชาการ
แปลและเรียบเรียงโดย ภัทรารัตน์ สุวรรณวัฒนา
ตีพิมพ์ในปาจารยสาร ฤดูฝน 2010
แปลอย่างสรุป โดย ภัทรารัตน์ สุวรรณวัฒนา