อีซูซุ
สำนักงานใหญ่อีซูซุ ในเมืองโยโกฮามะ จังหวัดคานางาวะ ประเทศญี่ปุ่น | |
ชื่อท้องถิ่น | いすゞ自動車株式会社 |
---|---|
ชื่อโรมัน | Isuzu Jidōsha Kabushiki-gaisha |
ประเภท | มหาชน |
การซื้อขาย | TYO: 7202 TOPIX Large 70 Component |
ISIN | JP3137200006 |
อุตสาหกรรม | การผลิต |
ก่อตั้ง | 30 มีนาคม พ.ศ. 2477; 90 ปีก่อน |
สำนักงานใหญ่ | โยโกฮามะเกตทาวเวอร์, เขตนิชิ, , ประเทศญี่ปุ่น |
พื้นที่ให้บริการ | ทั่วโลก |
บุคลากรหลัก | มาซาโนริ คาตายามะ (ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร) ชินสุเกะ มินามิ (ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ) |
ผลิตภัณฑ์ | รถเพื่อการพาณิชย์ เครื่องยนต์ดีเซล เครื่องกำเนิดไฟฟ้าดีเซล รถยนต์นั่งส่วนบุคคล (ถึงปี 2545)[1] |
รายได้ | ¥3,195.53 พันล้านเยน (FY2023)[ต้องการอ้างอิง] |
รายได้จากการดำเนินงาน | ¥253.54 พันล้านเยน (FY2023) |
รายได้สุทธิ | ¥151.74 พันล้านเยน (FY2023) |
สินทรัพย์ | ¥3,046,777 ล้านเยน (FY2023) |
ส่วนของผู้ถือหุ้น | ¥1,510,232 ล้านเยน (FY2023) |
พนักงาน | 8,056 (รวม 44,495) |
บริษัทในเครือ | List
|
เว็บไซต์ | www |
บริษัท อีซูซุมอเตอร์ จำกัด (ญี่ปุ่น: いすゞ自動車株式会社; โรมาจิ: Isuzu Jidōsha Kabushiki-Kaisha; อังกฤษ: Isuzu Motors Ltd.) หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า อีซูซุ (เสียงอ่านภาษาญี่ปุ่น: [isɨᵝzɨᵝ], /iˈsuzu/) เป็นบริษัทผลิตรถยนต์ข้ามชาติสัญชาติญี่ปุ่น มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองโยโกฮามะ จังหวัดคานางาวะ ประเทศญี่ปุ่น กิจกรรมหลักของบริษัทคือการผลิต การตลาด และการจำหน่ายรถเพื่อการพาณิชย์อีซูซุ และเครื่องยนต์ดีเซล
อีซูซุมีบริษัทในเครือและกิจการร่วมค้าหลายแห่ง ได้แก่ ยูดี ทรัคส์, อนาโดลูอีซูซุ (กิจการร่วมค้ากับกลุ่มอนาโดลูในตุรกี), ซอลเลอส์-อีซูซุ (กิจการร่วมค้ากับบริษัท ซอลเลอส์ เจเอสซี ในรัสเซีย - ยุติการผลิตในเดือนมีนาคม 2565, อีซูซุโอนหุ้นให้แก่ซอลเลอส์ในเดือนกรกฎาคม 2566)[2] เอสเอ็มแอลอีซูซุ (กิจการร่วมค้าในอินเดีย เดิมชื่อสวราชมาสด้า), เจียงซีอีซูซุมอเตอร์ (กิจการร่วมค้ากับกลุ่มบริษัทเจียงหลิงมอเตอร์ในจีน), อีซูซุ อาสตรา มอเตอร์ อินโดนีเซีย, อีซูซุมาเลเซีย (อีซูซุไฮคอม), อินดัสตรีส์ เมคานิกส์ มาเกรบิน, อีซูซุทรัก (สหราชอาณาจักร), อีซูซุแอฟริกาใต้, อีซูซุฟิลิปปินส์, ไต้หวันอีซูซุมอเตอร์, อีซูซุเวียดนาม, อีซูซุมอเตอร์ อินเดีย และบีวายดีอีซูซุ
อีซูซุมีโรงงานประกอบและผลิตตั้งอยู่ในเมืองฟูจิซาวะ ซึ่งดำเนินการมาตั้งแต่การก่อตั้งบริษัทภายใต้ชื่อเดิม รวมถึงในจังหวัดโทจิงิและฮกไกโด รถยนต์ตราอีซูซุมีการจำหน่ายในตลาดเชิงพาณิชย์ส่วนใหญ่ทั่วโลก ตลาดหลักของอีซูซุมุ่งเน้นไปที่รถเพื่อการพาณิชย์ที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซล เช่น รถบรรทุก รถโดยสาร และงานก่อสร้าง
ชื่อบริษัทได้มาจากแม่น้ำอีซูซุ โดยตัวอักษรคันจิของคำว่าอีซูซุ (五十鈴) นั้นมีความหมายว่า "ระฆังห้าสิบใบ
ประวัติ
[แก้]การปรากฏตัวในตลาด
[แก้]บริษัทในเครือและกิจการร่วมค้า
[แก้]แผนกเครื่องยนต์ดีเซล/ระบบส่งกำลังของอีซูซุ
[แก้]รถยนต์ รถโดยสาร และรถเพื่อการพาณิชย์
[แก้]ยานยนต์ทหาร
[แก้]การสนับสนุน
[แก้]รถอีซูซุที่จำหน่ายในไทย
[แก้]- อีซูซุ ดี-แม็คซ์
- อีซูซุ มิว-เอ็กซ์
- รถบรรทุกอีซูซุ เช่น elf forward deca
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Isuzu Worldwide
- Isuzu corporate website (Japanese)
- Isuzu Surabaya (Indonesia)
- Official Isuzu South Africa
- Explanation of Mimamori-kun (English)
- Isuzu launches Mimamori in Japan
- เว็บไซต์อย่างเป็นทางการของ กลุ่มบริษัท อีซูซุ ประเทศไทย
- ↑ Jackson, Kathy (2008-02-04). "Isuzu's collapse". Automotive News. Crain Communications, Inc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-10.
- ↑ "Из России ушел еще один японский автопроизводитель". Banki.ru (ภาษารัสเซีย). 2023-07-14.