กองกำลังติดอาวุธปฏิวัติโคลอมเบีย
กองกำลังติดอาวุธปฏิวัติโคลอมเบีย People's Army | |
---|---|
มีส่วนร่วมในColombian conflict | |
ปฏิบัติการ | ค.ศ.1964–ปัจจุบัน |
แนวคิด |
|
ผู้นำ | |
กองบัญชาการ |
|
พื้นที่ปฏิบัติการ | ส่วนใหญ่อยู่ในภาคใต้, ตะวันตกเฉียงใต้, ตะวันตกเฉียงเหนือ และตะวันออกของประเทศโคลัมเบีย. เคยบุกรุกที่ประเทศเปรู, เวเนซุเอลา, บราซิล,[2] ปานามา,[3] และเอกวาดอร์. ปรากฏตัวเป็นระยะ ๆ ในประเทศแถบเขตร้อนในทวีปอเมริกา โดยเฉพาะประเทศเม็กซิโก, ปารากวัย และโบลิเวีย. |
กำลังพล | 7,000–10,000 (2013)[4][5][6][7][8][9] |
พันธมิตร | กลุ่มทหาร
รัฐบาล
|
ปรปักษ์ | กลุ่มทหาร
รัฐบาล |
ตราประจำตำแหน่ง | |
ธง |
กองกำลังติดอาวุธปฏิวัติโคลอมเบีย—กองทัพประชาชน (สเปน: Fuerzas Armadas Revolucionarias de Colombia—Ejército del Pueblo), ฟาร์ก-เอป (FARC–EP) หรือ ฟาร์ก (FARC) เป็นอดีตกลุ่มกองโจรในประเทศโคลอมเบีย ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2507 มีจุดมุ่งหมายเพื่อสถาปนาการปกครองระบอบคอมมิวนิสต์และต่อต้านสหรัฐ
ปฏิบัติการ
[แก้]ปฏิบัติการทางทหารอยู่ในประเทศโคลอมเบียเป็นหลัก แต่ก็มีการเข้าไปโจมตีประเทศเพื่อนบ้านบ้าง ปฏิบัติการของกลุ่มมีทั้งการลักพาตัว ปล้นธนาคารและค้ายาเสพติด เน้นที่การลอบวางระเบิด ข่มขู่ จี้เครื่องบิน และสงครามกองโจร ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2542 กลุ่มนี้ได้ลอบสังหารชาวอเมริกันอินเดียน 3 คน ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการโจมตีเป้าหมายที่เป็นชาวต่างชาติของกลุ่ม
สมาชิก
[แก้]ใน พ.ศ. 2556 ฟาร์กมีสมาชิกราว 7,000–10,000 คน[4][5][6][14][15][16] ส่วนใหญ่อยู่ในชนบท มีพื้นที่ปฏิบัติการในโคลอมเบีย เวเนซุเอลา ปานามา และเอกวาดอร์ ได้รับการสนับสนุนจากคิวบา
การสลายตัว
[แก้]ในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ฟาร์กประกาศยุติการเป็นกลุ่มติดอาวุธและส่งมอบอาวุธของตนให้แก่สหประชาชาติ ในเดือนถัดมา ฟาร์กประกาศปฏิรูปตนเองเป็นพรรคการเมืองตามกฎหมาย[17] อย่างไรก็ตาม สมาชิกของฟาร์กหลายพันคนซึ่งไม่เห็นด้วยกับการปลดอาวุธยังคงยึดมั่นอุดมการณ์ดั้งเดิมของกลุ่มและลักลอบค้ายาเสพติดต่อไป[18]
อ้างอิง
[แก้]- ดลยา เทียนทอง. ปฐมบทการก่อการร้าย. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 92–93.
- ศราวุฒิ อารีย์. ก่อการร้าย มุมมองของโลกอิสลาม. กรุงเทพฯ : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550, หน้า 113–114.
- ↑ Interview with FARC Commander Simón Trinidad "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 มกราคม 2014. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2013.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ "FARC have 'drug trafficking networks' in Brazil – Colombia news". Colombia Reports. 19 May 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-08. สืบค้นเมื่อ 17 October 2011.
- ↑ "Panama's Darien teems with FARC drug runners". Reuters. 26 May 2010.
- ↑ 4.0 4.1 "Colombian soldiers die in clashes". BBC News. 21 July 2013. สืบค้นเมื่อ 11 January 2014.
- ↑ 5.0 5.1 "Colombia's peace talks: To the edge and back again". The Economist. 31 August 2013. สืบค้นเมื่อ 11 January 2014.
- ↑ 6.0 6.1 "Farc, terrorismo y diálogos – EL UNIVERSAL – Cartagena". 2013-10-23. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-06. สืบค้นเมื่อ 11 January 2014.
- ↑ "Desmovilización, principal arma contra las guerrillas" (ภาษาสเปน). eltiempo.com. 2013-09-22. สืบค้นเมื่อ 27 September 2013.
- ↑ "Colombia army claims guerrillas have lost 5000 fighters in past 2 years". colombiareports.co. 2013-09-25. สืบค้นเมื่อ 27 September 2013.
- ↑ "Comandantes de Fuerza presentaron resultados operacionales de los últimos 2 años" (ภาษาสเปน). mindefensa.gov.co. สืบค้นเมื่อ 27 September 2013.
- ↑ "Venezuela links to Farc detailed". BBC News. 2011-05-10.
- ↑ 11.0 11.1 Venezuela: A Mafia State?. Medellin, Colombia: InSight Crime. 2018. pp. 3–84.
- ↑ Baddour, Dylan; Faiola, Anthony (29 August 2019). "As Colombia peace accord unravels, ex-FARC leaders take up arms, announce return to conflict". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ 2 September 2019.
- ↑ Juan Guaidó [@jguaido] (4 September 2019). "Desde la @AsambleaVE hemos declarado a la disidencia de las FARC, ELN, Hamas, Hezbollah e ISIS como grupos terroristas, ordenándoles a todos los cuerpos de seguridad del Estado proteger nuestra soberanía e integridad territorial frente a la amenaza que representan estos grupos" (ทวีต) – โดยทาง ทวิตเตอร์.
- ↑ "Desmovilización, principal arma contra las guerrillas" (ภาษาสเปน). eltiempo.com. 2013-09-22. สืบค้นเมื่อ 27 September 2013.
- ↑ "Colombia army claims guerrillas have lost 5000 fighters in past 2 years". colombiareports.co. 2013-09-25. สืบค้นเมื่อ 27 September 2013.
- ↑ "Comandantes de Fuerza presentaron resultados operacionales de los últimos 2 años" (ภาษาสเปน). mindefensa.gov.co. สืบค้นเมื่อ 27 September 2013.
- ↑ "After decades of war, Colombia's FARC rebels debut political party". Reuters. 27 June 2017. สืบค้นเมื่อ 4 September 2017.
- ↑ "Peru arrests more than 50 in anti-drug bust at Colombian border". Reuters. 16 July 2018. สืบค้นเมื่อ 18 July 2018.