การรุกบอลติก
หน้าตา
การรุกบอลติก (1944) (การรุกทางยุทธศาสตร์บอลติก) | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
การรุกของโซเวียตบนแนวรบด้านตะวันออก, 1 กันยายน ค.ศ. 1943 – 31 ธันวาคม ค.ศ. 1944 | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
สหภาพโซเวียต | ไรช์เยอรมัน | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
เกออร์กี จูคอฟ อีวาน บากราเมียน เลโอนิด โกโวลอฟ |
เอริช ฟ็อน มันชไตน์ วัลเทอร์ โมเดิล Johannes Freißner | ||||||
กำลัง | |||||||
1,546,400 troops[1] 17,500 artillery pieces 3,080 armoured vehicles 2640 aircraft[2] |
730,000 troops 7,000 artillery pieces 1,260 armoured vehicles 400 aircraft[2] | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
61,468 dead or missing 218,622 wounded or sick[1] | Unknown |
แม่แบบ:Campaignbox Poland 1944-1945
แม่แบบ:Campaignbox Stalin's ten blowsการรุกบอลติก ยังเป็นที่รู้จักกันคือ การรุกทางยุทธศาสตร์บอลติก หมายถึง การทัพระหว่างแนวรบด้านเหนือของกองทัพแดงและกองทัพเยอรมันกลุ่มเหนือในรัฐบอลติกในช่วงฤดูใบไม้ร่วงปี ค.ศ. 1944 ผลของการสู้รบคือ การแบ่งแยกและโอบล้อมกองทัพกลุ่มเหนือในคูรแลนด์พ็อกเก็ต และโซเวียตได้เข้ายึดครองรัฐบอลติกอีกครั้ง
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Soviet casualties and combat losses in the twentieth century London: Greenhill Books 1997
- ↑ 2.0 2.1 Прибалтийская наступательная операция, 14 сентября – 24 ноября 1944 г เก็บถาวร 2010-10-19 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน BDSA.ru