Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
ข้ามไปเนื้อหา

การสังหารหมู่ต้าซิง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การสังหารหมู่ต้าซิง (จีน: 大兴屠杀) หรือรู้จักกันในชื่อ อุบัติการณ์ต้าซิง (大兴事件) เป็นเหตุการณ์หนึ่งในการสังหารหมู่สิงหาแดงที่ปักกิ่งในการปฏิวัติทางวัฒนธรรมช่วงต้น[1][2][3][4][5][6] เหตุการณ์เกิดที่อำเภอต้าซิงของปักกิ่งในวันที่ 27 ถึง 31 สิงหาคม โดยมีเป้าหมายหลักคือสมาชิกเฮย์อู่เล่ย์ (黑五类; Five Black Categories)[3][6][7][8] เมื่อรวมกันแล้ว ในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 1966 มีผู้ถูกฆ่า 325 คน โดยคนแก่ที่สุดอยู่ที่ 80 ปี ส่วนเด็กที่สุดอยู่ที่ 38 วัน มีครอบครัวถูกล้างบาง 22 ตระกูล[1][3][6][9]

การสังหารหมู่ต้าซิงเกิดขึ้นหลังเหมา เจ๋อตงสนับสนุนขบวนการยุวชนแดงอย่างเปิดเผยที่ปักกิ่ง และเซี่ย ฟู่จี้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงความมั่นคงสาธารณะ สั่งให้ปกป้องยุวชนแดงและอย่าจับกุมพวกเขา ในวันที่ 26 สิงหาคม ค.ศ. 1966 หนึ่งวันก่อนการสังหารหมู่ เซี่ยกล่าวว่า เป็นเรื่องไม่ผิดที่ยุวชนแดงโจมตี"คนชั่ว" และจะเป็นเรื่องดีถ้า"คนชั่ว"เหล่านี้ถูกฆ่า[1][3][10][11][12] วิธีการฆาตกรรมในช่วงสังหารหมู่มีทั้งการตี เฆี่ยน รัดคอ กระทืบ ตัดหัว เป็นต้น วิธีการฆ่าเด็กทารกและเด็ก ๆ ส่วนใหญ่คือ ทุบลงบนดินหรือผ่าครึ่งซีก[6][13][14][15]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 Jian, Guo; Song, Yongyi; Zhou, Yuan (2015-07-23). Historical Dictionary of the Chinese Cultural Revolution (ภาษาอังกฤษ). Rowman & Littlefield. ISBN 978-1-4422-5172-4.
  2. "A Massacre in Daxing County During the Cultural Revolution". Chinese Law & Government (ภาษาอังกฤษ). 14 (3): 70–71. 2014-12-07. doi:10.2753/CLG0009-4609140370.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 Song, Yongyi (2011-08-25). "Chronology of Mass Killings during the Chinese Cultural Revolution (1966-1976)". Sciences Po (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-02-15.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  4. Southerl, Daniel (1994-07-18). "A NIGHTMARE LEAVES SCARS, QUESTIONS". Washington Post (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0190-8286. สืบค้นเมื่อ 2019-12-23.
  5. "Ignoring the past". The Economist. ISSN 0013-0613. สืบค้นเมื่อ 2020-02-15.
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 Yu, Luowen. "文革时期北京大兴县大屠杀调查". Chinese University of Hong Kong. สืบค้นเมื่อ 2020-02-15.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  7. Sun, Yancheng. "血统论和大兴"八三一"事件". Yanhuang Chunqiu (ภาษาจีน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-22. สืบค้นเมื่อ 2019-12-08.
  8. Qi, Zhi (2019-11-26). 中华学人论文集——文化大革命50年(1-4): 文献与综述(一) (ภาษาจีน). Remembering Publishing, LLC. ISBN 978-1-951135-05-8.
  9. Hu, Ping (2010-11-02). "谁是大兴县血案的罪魁祸首?(胡平)". Radio Free Asia (ภาษาChinese (China)). สืบค้นเมื่อ 2019-12-08.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  10. "文革公安部长谢富治谈红卫兵打死人:我们管不着". Phoenix New Media (ภาษาจีน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-10. สืบค้นเมื่อ 2019-12-10.
  11. "卞仲耘丈夫:宋彬彬没参与打人 但她是一伙儿的". Phoenix New Media (ภาษาจีน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-10. สืบค้นเมื่อ 2019-12-10.
  12. "对红卫兵组织失去信任 毛泽东决定下放知青始末". Phoenix New Media (ภาษาจีน). Renming Wang. 2009-12-14. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-27. สืบค้นเมื่อ 2019-12-10.
  13. Wang, Youqin. "文革受难者 ——关于迫害、监禁和杀戮的寻访实录" (PDF) (ภาษาจีน). University of Chicago.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  14. "北京大兴文革屠杀:婴儿被劈成两半". Boxun (ภาษาจีน). 2013-08-01. สืบค้นเมื่อ 2019-12-10.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  15. "集体遗忘文革,无疑是一种更深远的民族公耻". Ipkmedia (光传媒) (ภาษาจีน). 2019-10-18. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-29. สืบค้นเมื่อ 2019-12-10.