Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
ข้ามไปเนื้อหา

ต้าเหลียน

พิกัด: 38°54′50″N 121°36′53″E / 38.9140°N 121.6148°E / 38.9140; 121.6148
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ต้าเหลียน

大连市
สถานที่ต่าง ๆ ในนครต้าเหลียน
สถานที่ต่าง ๆ ในนครต้าเหลียน
แผนที่
ที่ตั้งของนครต้าเหลียนในมณฑลเหลียวหนิง
ที่ตั้งของนครต้าเหลียนในมณฑลเหลียวหนิง
ต้าเหลียนตั้งอยู่ในมณฑลเหลียวหนิง
ต้าเหลียน
ต้าเหลียน
ตำแหน่งของใจกลางเมืองในมณฑลเหลียวหนิง
พิกัด (หน่วยงานบริหารนครต้าเหลียน): 38°54′50″N 121°36′53″E / 38.9140°N 121.6148°E / 38.9140; 121.6148
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
มณฑลเหลียวหนิง
ตั้งถิ่นฐาน1899
โอนอำนาจอธิปไตยให้ญี่ปุ่น (สนธิสัญญาชิโมโนเซกิ)17 เมษายน 1895
รัสเซียยึดครอง

ญี่ปุ่นยึดครอง
3 มีนาคม 1898 – 2 มกราคม 1905
1905 – 15 สิงหาคม 1945
– โอนอำนาจอธิปไตยให้จีน16 เมษายน 1955
ศูนย์กลางการปกครองเขตซีกั่ง (西岗区)
เขตการปกครองระดับเทศมณฑล7 เขต, 2 นครระดับเทศมณฑล, 1 เทศมณฑล
การปกครอง
 • เลขาธิการพรรคถัน จั้งจฺวิน (谭作钧)
 • นายกเทศมนตรีเฉิน เช่าว่าง (陈绍旺)
พื้นที่
 • นครระดับจังหวัด และนครระดับกิ่งมณฑล13,237 ตร.กม. (5,111 ตร.ไมล์)
 • พื้นดิน12,573.85 ตร.กม. (4,854.79 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง (2017)[1]1,523.00 ตร.กม. (588.03 ตร.ไมล์)
 • เขตทั้งเจ็ด[1]5,244.0 ตร.กม. (2,024.7 ตร.ไมล์)
ความสูง29 เมตร (95 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโนปี 2010)[3]
 • นครระดับจังหวัด และนครระดับกิ่งมณฑล6,690,432 คน
 • ความหนาแน่น532.09 คน/ตร.กม. (1,378.1 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง (2017)[1]4,009,700 คน
 • 5,943,000[2]
 • เขตทั้งเจ็ด[1]4,607,000
GDP (ราคาตลาด) 2016[2]
 • รวมCNY 823.42 พันล้าน
USD 119.76 พันล้าน
 • ต่อหัวCNY 117,850
USD 17,141
 • เติบโตเพิ่มขึ้น 6.5%
เขตเวลาUTC+8 (เวลามาตรฐานจีน)
รหัสไปรษณีย์116000
รหัสพื้นที่0411
รหัส ISO 3166CN-LN-02
ทะเบียนพาหนะ辽B
รหัสเขตการปกครอง210200
HDI (2011)0.86 – สูงมาก[4]
ชายฝั่ง1,906 km (1,184 mi) (ไม่รวมเกาะ)
ดอกไม้ประจำนครกุหลาบจีน
ต้นไม้ประจำนครสนมังกร
เว็บไซต์www.dl.gov.cn
ต้าเหลียน
"ต้าเหลียน" เขียนด้วยตัวอักษรจีนตัวย่อ (บน) และอักษรจีนตัวเต็ม (ล่าง)
ชื่อภาษาจีน
อักษรจีนตัวย่อ大连
อักษรจีนตัวเต็ม大連
ไปรษณีย์Dalny (1898–1905)
Dairen (1905–1945)
ลหฺวี่ต้า (1950–1981)
ภาษาจีน旅大
ไปรษณีย์Luta
ชื่อภาษาเกาหลี
ฮันกึล
대련
ฮันจา
大連
ชื่อภาษาญี่ปุ่น
คันจิ大連
ฮิรางานะだいれん
การถอดเสียง
โรมาจิDairen
ชื่อภาษารัสเซีย
ภาษารัสเซียДальний
อักษรโรมันDalniy
วิดีโอหลายคลิปจากแหล่งข้อมูลภายนอก
Dalian Aerial Photography
video icon Dalian Aerial Photography by New China TV, 2019.[5]

ต้าเหลียน เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้า การท่องเที่ยว ของมณฑลเหลียวหนิง และยังมีท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของจีน จนได้รับการขนานนามเป็น ฮ่องกงแห่งจีนเหนือ ซึ่งครั้งหนึ่ง เคยถูกยึดครองทั้งจากญี่ปุ่น และรัสเซียในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปลายศตวรรษที่ 19 จนถึงศตวรรษที่ 20 จึงยังมีกลิ่นอายของบรรยากาศสถาปัตยกรรมแบบรัสเซียปะปนหลงเหลือให้เห็นอยู่บ้างภายในตัวเมือง

ปัจจุบันต้าเหลียนมีสถานะเป็นเมืองเศรษฐกิจชายฝั่งทะเลที่สำคัญ และเจริญรุ่งเรืองมากของจีน จึงมีนักลงทุนจากต่างชาติเข้ามาลงทุนมากมาย โดยเฉพาะนักลงทุนชาวญี่ปุ่น

เมืองต้าเหลียนตั้งอยู่ที่ปลายคาบสมุทรเหลียวหนิงล้อมรอบด้วยทะเล สามด้าน และเป็นเมืองตากอากาศที่สำคัญทางภาคเหนือ

ทั้งยังเป็นเมืองที่มีความปลอดภัย และ สภาพแวดล้อมดีเลิศจนได้รับการจัดลำดับจาก สหประชาชาติให้เป็น 1 ใน 500 เมืองทั่วโลกที่มีสภาพแวดล้อมยอดเยี่ยมในปี 2001 และ จากการบริหารพัฒนาเมืองที่มีประสิทธิภาพ ต้าเหลียนจึงถูกยกฐานะเป็นเมืองต้นแบบใน การพัฒนา ให้กับเมืองต่างๆ ของจีน ตัวอย่างเช่น โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ซึ่งได้ถูกทยอยย้ายออกไปอยู่นอกเมืองจนปัจจุบัน ต้าเหลียนจัดได้ว่าเป็นเมืองที่สะอาดและ อากาศดีที่สุดในจีนเหนือ

ภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 Ministry of Housing and Urban-Rural Development, บ.ก. (2019). China Urban Construction Statistical Yearbook 2017. Beijing: China Statistics Press. p. 50. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-18. สืบค้นเมื่อ 11 January 2020.
  2. 2.0 2.1 2014年大连市国民经济和社会发展统计公报 (ภาษาChinese (China)). Dalian Municipal Bureau of Statistics. 19 March 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2015. สืบค้นเมื่อ 15 April 2015.
  3. 《大连市2010年第六次全国人口普查主要数据公报》[ต้องการอ้างอิงเต็มรูปแบบ]
  4. 人类发展指数达到0.86 大连市已进入高人类发展水平. 半岛晨报 (ภาษาChinese (China)). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 October 2014. สืบค้นเมื่อ 29 October 2014.
  5. New China TV (30 June 2019). "Dalian: Light of Photography". YouTube. สืบค้นเมื่อ 28 March 2020.