Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
ข้ามไปเนื้อหา

สหภาพเพื่อขบวนการประชาชน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สหภาพเพื่อขบวนการประชาชน
Union pour un mouvement populaire
ผู้ก่อตั้งฌัก ชีรัก
อาแล็ง ฌูว์เป
ประธานนีกอลา ซาร์กอซี[1]
(สุดท้าย)
รองประธานนาตาลี คอสซิุสโก-โมริเซ
(สุดท้าย)
เลขาธิการโลร็องต์ โวเกียซ
(สุดท้าย)
ก่อตั้ง23 เมษายน ค.ศ. 2002
(สหภาพเพื่อเสียงข้างมากของประธานาธิบดี)
17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2002
(สหภาพเพื่อขบวนการประชาชน)
ถูกยุบ30 พฤษภาคม ค.ศ. 2015
(เปลี่ยนชื่อพรรคเป็น เลเรปูว์บลีแก็ง)
รวมตัวกับชุมนุมเพื่อสาธารณรัฐ
เสรีประชาธิปไตย
อนุสัญญาประชาธิปไตย
ก่อนหน้าชุมนุมเพื่อสาธารณรัฐ
ถัดไปเลเรปูว์บลีแก็ง
ที่ทำการ238, rue de Vaugirard
75015 Paris Cedex 15
สมาชิกภาพ  (ปี ค.ศ. 2015)213,030 คน (อ้างสิทธิ์)
อุดมการณ์ลัทธินิยมโกล[2][3]
อนุรักษนิยม[3]
เสรีอนุรักษนิยม[4][5]
เสรีนิยมอนุรักษ์[3]
ประชาธิปไตยคริสเตียน[4]
จุดยืนขวากลาง[6] ถึงขวา
กลุ่มระดับสากลศูนย์ประชาธิปัตย์นานาชาติ[4]
สหภาพประชาธิปัตย์นานาชาติ[4]
กลุ่มในสภายุโรปพรรคประชาชนยุโรป
สี    สีน้ำเงิน, สีขาว, สีแดง
เว็บไซต์
u-m-p.org ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เก็บถาวร 2015-05-21)
การเมืองฝรั่งเศส
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง

สหภาพเพื่อขบวนการประชาชน (ฝรั่งเศส: Union pour un Mouvement Populaire, UMP) หรือชื่อเดิมเมื่อก่อตั้ง สหภาพเพื่อเสียงข้างมากของประธานาธิบดี (Union pour la majorité présidentielle) เป็นอดีตพรรคการเมืองฝ่ายขวากลางของประเทศฝรั่งเศส ก่อตั้งเมื่อวันที่ 23 เมษายน ค.ศ. 2002 โดยฌัก ชีรัก อดีตประธานาธิบดี และอาแล็ง ฌูว์เป อดีตนายกรัฐมนตรีภายใต้การนำของชีรักในปีสมัยที่หนึ่ง

การก่อตั้งพรรคเกิดจากการรวบร่วมตัวของพรรคที่มีอุดมการณ์ซีกกลางและขวาในสมัยของฌัก ชีรัก

พรรคเคยได้รับเสียงข้างมากในสมัชชาแห่งชาติในการเลือกตั้งของปีค.ศ. 2002 และ 2007 แล้วเคยมีนีกอลา ซาร์กอซี ที่ลงเป็นผู้สมัครของพรรคในการเลือกตั้งประธานาธิบดีของปีค.ศ. 2007 ต่อมาในปีค.ศ. 2012 ซาร์กอซีเป็นผู้สมัครของพรรคอีกครั้ง แต่พ่ายแพ้ฟร็องซัว ออล็องด์ ผู้สมัครพรรคสังคมนิยม จากนั้นพรรคกลายเป็นฝ่ายค้าน

หลังจากเกิดวิกฤตการณ์ภายในหลายครั้งที่เริ่มต้นในปีค.ศ. 2012 นีกอลา ซาร์กอซี ประธานพรรคในขณะนั้น ได้เปลี่ยนชื่อพรรคเป็นเลเรปูว์บลีแก็ง ในปีค.ศ. 2015

รายชื่อประธานาธิบดี

[แก้]

รายชื่อนายกรัฐมนตรี

[แก้]

ผลการเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง ผู้สมัครเลือกตั้ง คะแนนรอบที่ 1 คะแนนรอบที่ 2
คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง ผลการเลือกตั้ง
2007 นีกอลา ซาร์กอซี 11,448,663 31.18% 18,983,138 53.06%  สำเร็จ ชนะ
2012 9,753,629 27.18% 16,865,340 48,36% ไม่ พ่ายแพ้

การเลือกตั้งสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ

[แก้]
การเลือกตั้ง ผู้นำเลือกตั้ง คะแนนรอบที่ 1 คะแนนรอบที่ 2 จำนวนที่นั่ง ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง
2002 ฌ็อง-ปีแยร์ ราฟาแร็ง 8,408,023 33.30% 10,029,669 47.26%
358 / 577
แกนนำจัดตั้งรัฐบาล
2007 ฟร็องซัว ฟียง 10,289,028 39.54% 9,463,408 46.37%
313 / 577
แกนนำจัดตั้งรัฐบาล
2012 ฌ็อง-ฟร็องซัว โกเป้ 7,037,268 27.12% 8,740,628 37.95%
194 / 577
ฝ่ายค้าน

การเลือกตั้งระดับเขต / ระดับแผนก

[แก้]
การเลือกตั้ง คะแนนรอบที่ 1 คะแนนรอบที่ 2 จำนวนที่นั่งสมาชิกสภา จำนวนประธานสภา
คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง
2004 2,570,193 20.96% 2,829,728 27.21%
468 / 2,034
37 / 100
2008 3,158,400 23.57% 1,843,500 26.80%
514 / 2,020
30 / 100
2011 1,554,744 16.97% 1,581,756 20.00%
369 / 2,026
27 / 101
2015 1,337,267 6.56% 1,596,839 8.64%
1,080 / 4,108
44 / 101

การเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภายุโรป

[แก้]
การเลือกตั้ง ผู้นำเลือกตั้ง คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง จำนวนที่นั่ง
2004 ไม่มี 2,856,368 16.64%
17 / 78
2009 4,799,908 27.88%
29 / 72
2014 ฌ็อง-ฟร็องซัว โกเป้ 3,943,819 20.81%
20 / 74

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Sarkozy wins opposition UMP party vote". Al Jazeera English. 29 พฤศจิกายน 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2014. สืบค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2014.
  2. Hloušek, Vít; Kopeček, Lubomír (2010). Origin, Ideology and Transformation of Political Parties: East-Central and Western Europe Compared. Ashgate. p. 157. ISBN 9780754678403.
  3. 3.0 3.1 3.2 Slomp, Hans (2011). Europe, A Political Profile: An American Companion to European Politics. Vol. 2. ABC-CLIO. pp. 393–394. ISBN 9780313391828.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 Nordsieck, Wolfram (2012). "France". Parties and Elections in Europe. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 พฤษภาคม 2015.
  5. Kaeding, Michael (2007). Better regulation in the European Union: Lost in Translation or Full Steam Ahead?. Leiden University Press. p. 123. ISBN 9789087280260.
  6. Magstadt, Thomas M. (2011). Understanding Politics (9th ed.). Wadsworth, Cengage Learning. p. 183.