เลอโนโว
ตราอย่างเป็นทางการตั้งแต่ ค.ศ. 2015[1] | |
สำนักงานใหญ่ที่เขตไห่เตี้ยน ปักกิ่ง ประเทศจีน | |
ชื่อท้องถิ่น | 联想集团有限公司 |
---|---|
ชื่อโรมัน | Liánxiǎng Jítuán Yǒuxiàn Gōngsī |
ประเภท | มหาชน |
การซื้อขาย | SEHK: 992 |
ISIN | HK0992009065 |
อุตสาหกรรม | ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์ |
ก่อตั้ง | 1 พฤศจิกายน 1984Legend 联想) ปักกิ่ง ประเทศจีน | (ในฐานะ
ผู้ก่อตั้ง | |
สำนักงานใหญ่ |
|
พื้นที่ให้บริการ | ทั่วโลก |
บุคลากรหลัก | หยาง ยฺเหวียนชิ่ง (ประธาน & CEO) |
ผลิตภัณฑ์ | |
รายได้ | 56.863 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2024)[6] |
รายได้จากการดำเนินงาน | 2.005 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2024)[6] |
รายได้สุทธิ | 1.102 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2024)[6] |
สินทรัพย์ | 38.750 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2024)[6] |
ส่วนของผู้ถือหุ้น | 6.081 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2024)[6] |
พนักงาน | 77,000 (2023)[7] |
บริษัทในเครือ | |
เว็บไซต์ | lenovo.com |
เลอโนโวกรุ๊ป จำกัด (อังกฤษ: Lenovo Group Limited) มีชื่อทางการค้าเป็น เลอโนโว (Lenovo, /ləˈnoʊvoʊ/ lə-noh-voh, จีน: 联想; พินอิน: Liánxiǎng) เป็นบริษัทเทคโนโลยีข้ามชาติของจีน[9]ที่เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ การผลิต และการตลาดในผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริโภค, คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล, ซอฟต์แวร์, โซลูชั่นทางธุรกิจ และบริการที่เกี่ยวข้อง[5] สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ปักกิ่งและมอร์ริสวิลล์ รัฐนอร์ธแคโรไลนา สหรัฐ[3][4] บริษัทมีศูนย์วิจัยในสำนักงานใหญ่, ในที่อื่น ๆ ในประเทศจีน, ในชตุทการ์ท ประเทศเยอรมนี และในยามาโตะ ประเทศญี่ปุ่น[10][11]
เลอโนโวเดิมเป็นส่วนหนึ่งของสถาบันวิจัยของรัฐบาล[12] บริษัทในตอนนั้นมีชื่อว่า Legend ได้พัฒนาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มากมายก่อนที่จะมุ่งเน้นไปที่คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล ผู้ร่วมก่อตั้ง หลิ่ว เฉฺวียนจื้อ จัดตั้งบริษัท[2] Legend ที่ฮ่องกงเพื่อพยายามระดมทุน และได้รับอนุญาตให้สร้างคอมพิวเตอร์ในประเทศจีนสำเร็จ[13] บริษัทนี้จัดให้อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ฮ่องกงเมื่อ ค.ศ. 1994 และกลายเป็นผู้ผลิตคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรายใหญ่สุดในประเทศจีนและท้ายที่สุดก็รวมถึงในเอเชีย บริษัทยังเป็นผู้จัดจำหน่ายเครื่องพิมพ์เอชพี, คอมพิวเตอร์พกพาโตชิบา และอื่น ๆ ในประเทศอีกด้วย[13] หลังบริษัทเปลี่ยนชื่อเป็นเลอโนโว จึงเข้าซื้อกิจการธุรกิจพีซีของ IBM รวมถึงสายผลิตภัณฑ์ ThinkPad ใน ค.ศ. 2005 จากนั้นจึงขยายกิจการไปยังต่างประเทศอย่างรวดเร็ว[14] ใน ค.ศ. 2013 เลอโนโวกลายเป็นผู้จำหน่ายคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลรายใหญ่ที่สุดในโลกตามหน่วยยอดขายเป็นครั้งแรก[15] และยังคงถือครองสถิตินั้นต่อ (ณ ค.ศ. 2024)[16]
ประวัติ
[แก้]1984–1993: ก่อตั้งและประวัติศาสตร์ช่วงต้น
[แก้]เลอโนโวก่อตั้งที่ปักกิ่งในวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1984 โดยทีมวิศวกรที่นำโดยหลิ่ว เฉฺวียนจื้อและ Danny Lui ภายใต้ชื่อ Legend ตอนแรกบริษัทมีความเชี่ยวชาญด้านโทรทัศน์ก่อนเปลี่ยนมาผลิตและทำการตลาดคอมพิวเตอร์
หลิ่ว เฉฺวียนจื้อและกลุ่มวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ 10 คนกับ Danny Lui[18] สถาปนาเลอโนโวที่ปักกิ่งอย่างเป็นทางการในวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1984 ด้วยเงิน 200,000 เหรินหมินปี้[17][19] รัฐบาลจีนอนุมัติการจัดตั้งบริษัทเลอโนโวในวันเดียวกัน
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ชื่อ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ O'Reilly, Lara (1 June 2015). "Lenovo has a new logo that it says is now 'more personal'". Business Insider.
- ↑ 2.0 2.1 "Locations". Lenovo US.
- ↑ 3.0 3.1 "Lenovo". Forbes. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 September 2020. สืบค้นเมื่อ 9 September 2020.
Headquartered in Beijing, it's the world's largest PC vendor by unit sales and fourth biggest smartphone maker.
- ↑ 4.0 4.1 "Lenovo Group Ltd Hong Kong Listing". Bloomberg. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2020. สืบค้นเมื่อ 9 September 2020.
Address: No 6 Chuang Ye Road Shangdi Information Beijing, 100085 China
- ↑ 5.0 5.1 "Locations – Lenovo US". Lenovo. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 July 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-07-04.
- ↑ 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 "2023/24 Annual report" (PDF). Investor relations. Hong Kong: Lenovo Group Limited. สืบค้นเมื่อ 9 September 2024.
- ↑ Lenovo Group Limited Annual Report 2023 (PDF) (Report). Lenovo. สืบค้นเมื่อ 26 May 2022.
- ↑ "It's official: Motorola Mobility now belongs to Lenovo – CNET". cnet.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 March 2017. สืบค้นเมื่อ 2014-12-25.
- ↑ ข้อมูลหลายแหล่ง:
- Arthur, Charles (12 May 2018). "Lenovo, the Chinese giant that plays by the rules … and loses". The Guardian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 September 2020. สืบค้นเมื่อ 5 September 2020.
- Cahill, Kevin (1 July 2020). "Lenovo, top-of-the-world Chinese supercomputer supplier, sweeps all markets". Computer Weekly. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 September 2020. สืบค้นเมื่อ 9 September 2020.
- Goh, Brenda (20 February 2020). "China's Lenovo confident of managing virus impact, reports strong third quarter". Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 September 2020. สืบค้นเมื่อ 9 September 2020.
- "China's Lenovo Group first-quarter profit more than doubles, beats expectations". euronews. 9 December 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 November 2020. สืบค้นเมื่อ 9 September 2020.
- Schwankert, Steven (26 May 2006). "Is Lenovo a 'Chinese company'?". InfoWorld. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2019. สืบค้นเมื่อ 9 September 2020.
- ↑ "NFL Sponsor Lenovo Launches Second-Annual Fantasy Coach of the Year Contest". Lenovo StoryHub (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2024-11-20.
- ↑ "Lenovo Accelerates Artificial Intelligence Initiatives to Solve Humanity's Greatest Challenges". Lenovo StoryHub (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2024-11-20.
- ↑ Wei Xie & Steven White (September 2004). "Sequential learning in a Chinese spin-off: The case of Lenovo Group Limited".
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help) - ↑ 13.0 13.1 "A computer legend in the making". CNET (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2024-11-20.
- ↑ Holstein, William J. "Lenovo Goes Global". Strategy+business (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2024-11-20.
- ↑ "Gartner Says Worldwide PC Shipments Declined 6.9 Percent in Fourth Quarter of 2013". web.archive.org. 2014-01-10. สืบค้นเมื่อ 2024-11-20.
- ↑ "Gartner Says Worldwide PC Shipments Increased 0.3% in Fourth Quarter of 2023 but Declined 14.8% for the Year". Gartner. January 11, 2024. สืบค้นเมื่อ January 11, 2024.
- ↑ 17.0 17.1 Ling, Zhijun (2006). The Lenovo Affair. Singapore: John Wiley & Sons. ISBN 978-0-470-82193-0.
- ↑ "DANNY LUI". Greater Good Radio – Leaders Inspiring Leaders (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2006-07-22. สืบค้นเมื่อ 2022-09-15.
- ↑ Chen, Wency (17 December 2019). "Lenovo founder Liu Chuanzhi set to retire". Nikkei Asia. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 December 2019. สืบค้นเมื่อ 9 November 2019.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Ling, Zhijun (2005). The Lenovo affair: the growth of China's computer giant and its takeover of IBM-PC. trans. Martha Avery. Singapore: John Wiley & Sons [Asia]. ISBN 978-0-470-82193-0. สืบค้นเมื่อ 16 September 2009.
- Hamm, Steve (2008). The Race for Perfect: Inside the Quest to Design the Ultimate Portlable Computer. New York: McGraw-Hill. ISBN 978-0071606103.