ถึก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *tʰɤkᴰ (“สัตว์หนุ่มตัวผู้”), จากจีนยุคกลาง 特 (MC dok, “วัวตัวผู้”); ร่วมเชื้อสายกับลาว ເຖິກ (เถิก), ไทใหญ่ ထိုၵ်း (ถึ๊ก), อาหม 𑜌𑜢𑜤𑜀𑜫 (ถึก์), จ้วง daeg (ตัก "ตัวผู้") , จ้วงแบบจั่วเจียง taeg (ถัก "ตัวผู้")
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ถึก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | tʉ̀k |
ราชบัณฑิตยสภา | thuek | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tʰɯk̚˨˩/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]ถึก (คำอาการนาม ความถึก)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาจีนยุคกลาง
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɯk̚
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก