Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
SlideShare a Scribd company logo
พระมหาเจดีย์ชเวดากอง: ความเชื่อและพิธีกรรมปี นักษัตร

                                                                                    นางสาวคุณากร หนูนนท์
                                                                                                     ั

                                                                                               5224610377

         ในสมัย โบราณพม่า มีค วามเชื่ อทางด้ านพระพุท ธศาสนาเป็ นอย่ า งยิ่ ง ตังแต่พัฒ นาการทาง
                                                                                ้
ประวัติศาสตร์ การเมืองของพม่า โดยเฉพาะการยึดครองพม่าตอนล่างโดยจักรวรรดินิยมอังกฤษตังแต่ปี
                                                                                   ้
พ.ศ.2367 เป็ นต้ นมา ส่งผลให้ ผ้ คนในพม่าหันมานับ ถือมากยิ่งขึ ้นตังแต่อดีตจนถึงปั จ จุบัน ซึ่งพระมหา
                                 ู                                 ้
เจดีย์ชเวดากองเป็ นจุดเริ่มต้ นของความเป็ นพม่า เนื่องจากเจดีย์นีเ้ ป็ นศูนย์รวมทางศาสนาและความเชื่อ
อีกทังยังเป็ นสัญลักษณ์เด่นของความเป็ นพม่าที่แสดงออกถึงอธิปไตย อิสรภาพ และประเพณีได้ อย่างสง่า
     ้
งาม

         ความสาคัญของพระธาตุ

         ในสังคมพม่าจะนับถือและปฏิบัติตามประเพณี ที่มีลกษณะผสมผสานของศาสนาและความเชื่อ
                                                       ั
ต่างๆ ที่มีอยู่ในดินแดนพม่า อาทิเช่น ความเชื่อของพระมหาเจดีย์ หรื อพระธาตุที่เป็ นจุดรวมศรัทธาแห่ง
หนึ่งที่สะท้ อนให้ เห็นถึงความเป็ นพุทธของคนจากทุกชนชันและจากทุกแห่งหนในประเทศพม่าโดยไม่คานึง
                                                      ้
เชื ้อสายเผ่าพันธุ์

         คติการไหว้ พระธาตุ เป็ นตานานความเชื่อของคนล้ านนาทางเหนือและในเขตพม่าว่า เป็ นความเชื่อ
ในเรื่องของปี นักษัตรที่สมพันธ์กบปี เกิด และการนับอายุของแต่ละคนที่เป็ นที่รับรู้กนอย่างแพร่หลาย ในแต่
                         ั      ั                                                 ั
ละปี นัก ษั ตรจึงก าหนดด้ วยสัญ ลัก ษณ์ เ ป็ นสัตว์ป ระจ าปี เกิ ด หรื อที่ เ รี ย กว่า ๑๒ นัก ษั ตร และมีความ
สอดคล้ องกับการไหว้ พระธาตุประจาปี เกิด มาแต่โบราณ ซึ่งยึดถือเอาพระธาตุเป็ นที่พึ่ง และคุ้มครองตน
ดังนันการไหว้ บูชาพระธาตุทุกคืน จึงเป็ นสิ่งที่ขาดไม่ได้ อีกทังยังถื อกันว่า ในชีวิตหนึ่งควรได้ มีโอกาสไป
     ้                                                        ้
สักการบูชาสักครัง ให้ เกิดความเป็ นสิริมงคลมีอายุมนขวัญยืนทังยังได้ บญอานิสงส์มาก
                ้                                 ั่        ้        ุ

         "คติการไหว้ พระธาตุ" หมายถึง กระดูก หรือ ส่วนของร่างกายต่างๆ เช่น ผม ขน เล็บ ฟั น หนัง โลหิต
ฯลฯ ที่มีคณลักษณะเป็ นที่แตกต่างจากสามัญชนทั่ วไป โดยมีลกษณะคล้ าย ' ธาตุ ' ซึ่งหากมองโดยไม่
          ุ                                             ั
สังเกตให้ ดีแล้ ว ก็คล้ าย กรวด หิน แก้ ว เพชร ฯลฯ ดังนันคาว่า พระบรมธาตุ และ พระธาตุ ยังอาจหมายถึง
                                                        ้
สถูปเจดีย์ตางๆได้ อีกด้ วย เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุดอยสุเทพ พระธาตุพนม ฯลฯ
           ่
จะเห็นได้ ว่าค าว่า พระธาตุ มีหมายความถึงพระบรมสารี ริกธาตุของพระพุทธเจ้ าและยังรวมถึ ง
สถานที่ ห รื อพระเจดี ย์ ที่ บ รรจุพระบรมธาตุด้วย ซึ่ งในแต่ล ะแห่ง จะมีตานานหรื อประวัติที่ เ ล่าถึ งมูล
เหตุการณ์สร้ างพระบรมธาตุเจดี ย์ ซึ่งสัมพันธ์ กับการเสด็จโปรดสัตว์ ของพระพุท ธเจ้ าในดินแดนต่างๆ
เหล่านี ้ และสถานที่ที่พระองค์เสด็จไปถึง รวมถึงการสร้ างพระบรมธาตุเจดีย์ขึ ้น ณ ที่นนมักจะกลายเป็ น
                                                                                    ั้
เมืองสาคัญ ในเวลาต่อมาอีกทังประวัติ พระธาตุ หรื อตานานพระธาตุนัน ยังอาจหมายถึ งตานาน หรื อ
                           ้                                   ้
ประวัติความเป็ นมาของบ้ านเมืองแต่ละท้ องถิ่นอีกด้ วย

        คติการบูชาพระธาตุ

        สมัยโบราณมักจะบูชาพระบรมธาตุด้วยเครื่องหอม และข้ าวตอกดอกไม้ ตามปกติแล้ วจะสรงพระ
ธาตุด้วยน ้าสะอาด อาจเจือด้ วยน ้าหอม เนื่องจากองค์พระบรมธาตุ ส่วนใหญ่บรรจุอยู่ใต้ ฐานพระเจดีย์ การ
สรงน าจึง กระท าโดยการราดน า ไปบนองค์ พระเจดีย์ พระธาตุบ างองค์ จ ะต้ องใช้ น าจากแหล่ง พิ เ ศษ
     ้                     ้                                                  ้
อย่ า งเช่ น การสรงน า พระธาตุ ศ รี จ อมทอง ใช้ น า จากน า แม่ก ลางเจื อ ด้ ว ยน า หอมหรื อ แก่ น จัน ทน์
                     ้                            ้      ้                       ้
        กล่าวได้ ว่าคติ ก ารบูช าพระธาตุปี เกิ ด และ ตานานที่ เ กี่ ยวข้ องสะท้ อนถึ ง การเผยแผ่ของพุท ธ
ศาสนาในดินแดนไทยมาแต่โบราณ นอกจากนี ้ การสร้ างพระบรมธาตุเจดีย์ ยังสัมพันธ์กับการเกิดชุมชน
เมืองต่างๆ อันก่อให้ เกิดคติความเชื่อ และวัฒนธรรมร่วมกันของผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ โดยเฉพาะใน
ภาคเหนื อ ของไทย ที่ มี ก ลุ่ ม ชนมากมายอาศัย อยู่ โดยมี พ ระบรมธาตุเ จดี ย์ และสิ่ ง ส าคั ญ ทาง
พระพุทธศาสนา เป็ นศูนย์กลางแห่งจิตใจ1
        การเดินทางท่องเที่ยวไหว้ พระธาตุปีเกิด มีความสะดวกเป็ นอย่างยิ่ง เนื่องจากพระธาตุส่วนใหญ่
ตังอยู่ในภาคเหนือ และในเขตพม่า จึงสามารถจัดเส้ นทางสาหรับ ไหว้ พระธาตุ ในจังหวัดใกล้ เ คียงและ
  ้
ประเทศเพื่อนบ้ านได้ เช่น เชียงใหม่-ลาพูน-ลาปาง หรือ เชียงราย-น่าน-แพร่ เชียงราย-พม่า-ย่างกุ้ง เป็ นต้ น
ซึ่งไม่เพียงแต่จะได้ อิ่มใจในบุญกุศล ทว่ายังได้ ชมศิลปะ และสถาปั ตยกรรมอันงดงาม ของแต่ละท้ องถิ่นอีก
ด้ วย




1
        สุ ริ ย า เ พ ลิ น ท รั พ ย์ .    พ ร ะ บ ร ม ธ า ตุ . ( ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ) . แ ห ล่ ง ที่ ม า
http://student.nu.ac.th/phratad/index.htm (29 สิงหาคม 2545)
คติการไหว้ พระธาตุประจาปี เกิดและปี นักษัตร

        ความเชื่อเรื่องพระธาตุเจดีย์ประจาปี เกิดนี ้ ไม่ใช่ข้อวัตรปฏิบติหรือปรากฏในหลักธรรมคาสอนทาง
                                                                      ั
พระพุทธศาสนา แต่เป็ นคติความเชื่อดังเดิมของชาวล้ านนา ความเชื่ อนี จะมีมาตังแต่เ มื่อใดไม่ปรากฏ
                                   ้                               ้       ้
พบว่ามีบนทึกอยู่ในตาราพื ้นเมืองโบราณ สรุปใจความได้ ว่า ก่อนที่วิญญาณจะมาปฏิสนธิในครรภ์ของผู้
        ั
เป็ นมารดานัน วิญญาณจะลงมา ชุธาตุ ซึ่งหมายถึงการที่ดวงวิญญาณจะลงมาพักอยู่ที่เจดีย์แห่งใดแห่ง
            ้
หนึ่ง โดยมี ตั๋วเปิ ้ ง (สัตว์ประจานักษัตร) พามาพักไว้ และเมื่อได้ เวลา ดวงวิญญาณก็จะเคลื่อนจากพระ
เจดีย์ ไปสถิตอยู่บนกระหม่อมของผู้เป็ นบิดาเป็ นเวลา 7 วัน ก่อนที่จะเคลื่อนเข้ าสูครรภ์ของมารดา และเมื่อ
                                                                                 ่
เสียชีวิตลงแล้ ว ดวงวิญญาณก็จะกลับไปพักอยู่ที่เจดีย์นนๆตามเดิม
                                                     ั้

        นอกจากนันความเชื่อเรื่องปี นักษัตรยังสัมพันธ์กบคติการบูชาพระบรมธาตุ ดังปรากฏเป็ นประเพณี
                ้                                     ั
การชุธาตุห รื อการไหว้ พระธาตุป ระจ าปี เกิ ด โดยครังหนึ่งในชี วิตควรมีโอกาสเดิน ทางไปไหว้ พระธาตุ
                                                    ้
ประจาปี เกิดของตนเพื่อความเป็ นสิริมงคล ได้ แก่

        * นมัสการพระธาตุประจาปี ชวด พระธาตุศรีจอมทอง เชียงใหม่

        * นมัสการพระธาตุประจาปี ฉลู พระธาตุลาปางหลวง ลาปาง

        * นมัสการพระธาตุประจาปี ขาล พระธาตุช่อแฮ แพร่

        * นมัสการพระธาตุประจาปี เถาะ พระธาตุแช่แห้ ง น่าน

        * นมัสการพระธาตุประจาปี มะโรง พระพุทธสิหิงค์ เชียงใหม่

        * นมัสการพระธาตุประจาปี มะเส็ง พระศรีมหาโพธิหรือต้ นโพธิ์

        * นมัสการพระธาตุประจาปี มะเมีย พระธาตุชเวดากอง พมา

        * นมัสการพระธาตุประจาปี มะแม พระธาตุดอยสุเทพ เชียงใหม่

        * นมัสการพระธาตุประจาปี วอก พระธาตุพนม นครพนม

        * นมัสการพระธาตุประจาปี ระกา พระธาตุหริภญชัย ลาพูน
                                                ุ

        * นมัสการพระธาตุประจาปี จอ พระธาตุเกศแก้ วจุฬามณี บนสวรรค์ชนดาวดึงส์
                                                                   ั้
* นมัสการพระธาตุประจาปี กุน พระธาตุดอยตุง เชียงราย2

        นอกจากนี ้ยังมีความสอดคล้ องกับคติความเชื่อของคนล้ านนาที่เชื่อมาแต่โบราณว่า เมื่อคนเราสิ ้น
อายุขยแล้ ว ดวงวิญญาณจะไปสถิตอยู่ตามพระธาตุเจดีย์ต่างๆตามปี นักษัตรที่ เกิด ดังนัน ถ้ าหากได้ ไป
     ั                                                                           ้
นมัสการพระธาตุประจาปี เกิดของตนระหว่างที่ยงมีชีวิตอยู่ หรืออย่างน้ อยสักครังหนึ่งในชีวิตย่อมถือได้ ว่า
                                          ั                                ้
บุญกุศลและมีอายุยืนนาน กล่าวได้ ว่า คนปี มะเมีย (ม้ า) เมื่อมีเคราะห์หรื อชีวิตช่วงใดรู้สึกว่าทาอะไรก็
ติดขัดไปหมด อยู่ไม่ติดบ้ าน มีปัญหามีอปสรรคมาก การดาเนินชีวิตไม่ราบรื่ น ควรหาเวลาโอกาสไปบูชา
                                      ุ
พระธาตุประจาปี เกิดของตน ซึ่งคนปี มะเมียต้ องไปบูชา พระธาตุย่างกุ้ง หรื อพระเจดีย์ชเวดากอง ประเทศ
พม่านั่น เอง ให้ ได้ ระหว่างที่ มีชี วิตอยู่หรื ออย่ างน้ อยสักครังหนึ่งในชีวิต ซึ่งนอกจากความยุ่งยากความ
                                                                  ้
เดือดร้ อนต่างๆในชีวิตของท่านจะคลี่คลายไปในทางที่ดีขึ ้น ยังถื อว่าท่านได้ กศลและมีอายุยืน ที่สาคัญการ
                                                                            ุ
ที่ท่านได้ มานมัสการพระบรมธาตุนน โบราณท่านว่าได้ อานิสงค์มาก คือ ได้ บญกุศลมากนันเอง
                               ั้                                     ุ         ่

        ดังนัน การที่บคคลซึ่งเกิดในปี นักษัตรใดก็ตาม สมควรที่จะหาโอกาสไปกราบไหว้ พระธาตุประจาปี
             ้        ุ
เกิดของตน ให้ ได้ อย่างน้ อยครังหนึ่งในชีวิต เพราะเชื่อกันว่าเป็ นมงคลแก่ชีวิต มีอานิสงส์สงและจะทาให้ มี
                               ้                                                          ู
อายุยืนนาน รวมถึงเชื่อว่าหากสิ ้นชีพไป ดวงวิญญาณจะได้ กลับไปยังพระธาตุองค์นน ไม่ต้องเร่ร่อนไปใน
                                                                           ั้
ทุกคติภพอื่นๆ ซึ่งความเชื่อเหล่านี ้เองที่แพร่หลายไปสูหลายๆพื ้นที่ของประเทศต่างๆ นอกจากนีความเชื่อ
                                                      ่                                   ้
ดังกล่าวยังส่งผลให้ พระพุทธศาสนาดารงอยู่สืบต่อไป และทาให้ สถานที่ตามพระธาตุประจาวันเกิดต่างๆได้
กลายมาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ทางวัฒนธรรมได้ อีกด้ วย

        ความเป็ นมาของพระธาตุชเวดากอง

        หลังจากทรงปราบปรามประเทศพม่าภาคใต้ ได้ ใน พ.ศ. 2298 พระเจ้ าอลองพระหรื ออลองพยาก็
ทรงตังชื่อเมืองเล็กๆที่เคยมีชื่อมาแต่ก่อนว่า ดากอง (Dagon) ใหม่วา ยังกอง (Yan-gon) ซึ่งอาจแปลได้ ว่า
     ้                                                          ่
การยุติแห่งความยุ่งยาก และทรงสร้ างเมืองใหม่ขึ ้น ณ ที่นน ในไม่ช้าเมืองยังกองหรื อย่างกุ้งก็ได้ กลายเป็ น
                                                        ั้
เมืองท่าบนฝั่ งทะเลเมื่อเมืองสิเรี ยมซึ่งเคยเป็ นเมืองท่ามาก่อนได้ ถูกพระเจ้ าอลองพระทรงทาลายในพ.ศ.
2299


2
    ร้ อยเรี ยงเรื่ องราว.     คติ ไ หว้ พระธาตุ ประจ าปี เกิ ด . (ระบบออนไลน์ ). แหล่ ง ที่ มา
http://www.travelfortoday.com/story_partart.htm (24 พฤษภาคม 2547)
อย่างไรก็ดี เมืองยางกุ้งเพิ่งจะได้ กลายเป็ นราชธานีของประเทศพม่า และตามประวัติศาสตร์ เมือง
นี ้ก็เก่าขึ ้นไปจนถึงพุทธศตวรรษที่ 16                                                      2,000 แล้ ว




                                "ชเว" คือ ทอง ส่วน "ดากอง" คือชื่อเดิมของเมืองย่างกุ้ง
                  สมัยที่พระเจ้ าอลองพญาสถาปนาเมืองเล็กริมฝั่ งแม่น ้าแห่งนี ้ขึ ้นเมื่อปี พ.ศ.22983

        พระธาตุชเวดากอง (ชเวติโก่งพยา) ตังอยู่บริเวณเนินเขาเชียงกุตระ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า ซึ่ง
                                         ้
เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศพม่าที่มีความสาคัญยิ่งกับชาวพม่า เนื่องจากจะเป็ นศูนย์รวมศรัทธา
แล้ วยังเป็ นสัญ ลัก ษณ์ ที่แสดงออกถึงอธิ ป ไตย และอิสรภาพของชาติพม่า แต่สถานการณ์ต่างๆท าให้
เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเป็ นการเปลี่ยนแปลงที่ดีจะนาความเจริญงอกงามมาสูประเทศ และพระเจดีย์ชเวดากอง
                                                                 ่
ก็ได้ กลายเป็ นเป็ นเจดีย์ที่สงที่สดและเก่าแก่ที่สดในโลก
                              ู ุ                 ุ

        พระธาตุช เวดากอง ได้ เ ริ่ มสร้ างมาเป็ นครั งแรกตังแต่ส มัย ที่ พระพุท ธเจ้ า ทรงตรัสรู้ หรื อ เมื่ อ
                                                     ้     ้
ประมาณ 2,595 ปี มาแล้ ว ในสมัยที่ย่างกุ้งยังเป็ นเพียงเมืองเล็ก ๆ ที่ชื่อว่าเมืองอสิตนชนะหรืออีกชื่อหนึ่งคือ
                                                                                     ั
เมืองโอกกะละ โดยได้ มีพ่อค้ าชาวมอญ 2 คนชื่อว่า ตผุสสะ และภัลลิกะ ได้ เดินทางไปค้ าขายยังประเทศ
อิน เดีย ทัง สองได้ มีโอกาสเข้ าเฝาพระพุท ธเจ้ าซึ่งก าลัง ประทับ อยู่ใต้ ต้ น พระศรี มหาโพธิ์ และได้ ถ วาย
           ้                     ้
ภัตตาหารแด่พระองค์ด้วย หลังจากเสวยเสร็จแล้ ว พระพุทธเจ้ าได้ ประทานพระเกศาให้ 8 เส้ น เมื่อตผุสสะ
และภัลลิกะเดินทางกลับ พระราชาแห่งอเชตตะได้ ขอแบ่งพระเกศธาตุไป 2 เส้ น พญานาคขอไปอีก 2 เส้ น


3
      Joeeleo.      พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง                  Shwedagon.            (ระบบออนไลน์)         แหล่งที่มา
http://joeeleo.multiply.com/photos/album/60/60# (23 พฤศจิกายน 2551)
เมื่อเดินทางกลับ ถึงเมืองอสิตนชนะ พระเจ้ าโอกกะละปะก็ได้ ทรงประกอบพิธีต้อนรับ พระเกศธาตุอย่าง
                             ั
ยิ่งใหญ่ และได้ ทรง คัดเลือกสถานที่บนเขาสิงฆุตตระนอกประตูเมืองอสิตนชนะให้ เป็ นที่สร้ างพระเจดีย์เพื่ อ
                                                                  ั
บรรจุพ ระเกศธาตุ แต่ข ณะที่ ก าลัง ท าการขุดดิ น ก่ อ สร้ างนัน ก็ ไ ด้ ค้ น พบ พระบริ โ ภคเจดี ย์ ข องอดี ต
                                                              ้
พระพุทธเจ้ าองค์อื่น ๆอีก 3 พระองค์ด้วย คือไม้ ธารพระกร ภาชนะสาหรับใส่นา และสบง จึงได้ บรรจุของ
                                                                       ้
ทังหมดนี ้ในพระเจดีย์พร้ อมกับพระเกศธาตุด้วย แต่ก่อนที่จะบรรจุ ก็ค้นพบด้ วยว่ า พระเกศธาตุกลับมี 8
  ้
เส้ นดังเดิม พระเกศธาตุได้ บรรจุไว้ ภายในเจดีย์ทอง เงิน ดีบก ทองแดง ตะกัว หินอ่อน และเหล็กตามลาดับ
                                                           ุ            ่
เสร็จแล้ วจึงสร้ างเจดีย์อิฐสูงประมาณ 66 ฟุตครอบไว้ ภายนอก จากนันก็มีการสร้ างเจดีย์ครอบองค์เดิมใน
                                                                ้
รัชสมัยของกษัตริ ย์ต่าง ๆ รวมถึ ง 7 ครังด้ วยกัน โดยในสมัยพระนางเชงสอบูแห่งกรุงหงสาวดีก็ได้ ทรง
                                       ้
บริจาคทองคาถึง 40 กิโลกรัม ซึ่งเท่ากับน ้าหนักของพระองค์ในการก่อสร้ างพระเจดีย์ที่มีรูปร่างเหมือนใน
ปั จจุบนเป็ นครังแรก ส่วนพระเจ้ าธรรมเจดีย์ซึ่งครองราชย์ต่อจากพระนางเชงสอบู ก็ได้ บริ จาคทองในการ
       ั        ้
ก่อสร้ างเพิ่มเติมเป็ นน ้าหนักเท่ากับน ้าหนักของพระองค์และพระมเหสีรวมกันด้ วย ทังยังได้ ทรงสร้ างจารึก
                                                                                 ้
เล่าประวัติของพระเจดีย์ชเวดากองเป็ นภาษาพม่า มอญและบาลีไว้ ด้วย4

          จากนัน ปี พ.ศ. 2317 พระเจ้ ามังระ หรือพระเจ้ าช้ างเผือก แห่งกรุงอังวะ (กษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของ
               ้
ราชวงศ์อลองพญาของพม่า) ได้ ตอเติมยอดฉัตรเจดีย์ขึ ้นใหม่ โดยถอดฉัตรเดิมที่มอญเคยทา เป็ นแบบพม่า
                            ่
ขึ ้นไปแทน ซึ่งประกอบด้ วยระฆังเงิน ระฆังทองเหลือง ระฆังทองคาโดยระฆังแต่ละใบจะจารึกชื่อผู้บริ จาค
ไว้ ด้วย ส่วนระฆังทองคาบางใบจะมีเพชรประดับเพชรด้ วยระฆังทังหมดนี ้ติดไว้ ที่ฉตร ทาให้ เจดี ย์ชเวดากอง
                                                          ้                  ั
มีความสูงเท่ากับในปั จจุบน แต่ฉตรนี ้ก็ถกเปลี่ยนใหม่อีกครังในรัชสมัยของพระเจ้ ามินดงใน พ.ศ. 2414
                         ั     ั        ู                 ้

          ปั จจุบันพระเจดีย์ชเวดากองมีความสูงประมาณ 109 เมตร รอบฐานเจดีย์มีเจดีย์องค์เล็กๆ ราย
ล้ อมอีก 65 องค์ ซึ่งก็คือ ในภาพถ่ายที่ 2 ของโปสการ์ดนีนั่นเอง และเจดีย์องค์ใหญ่อีก 4 องค์ รอบเจดีย์มี
                                                       ้
พระประจาวันเกิดประดิษฐานทังแปดทิศตามหลักนพเคราะห์ คือ พระประจาวันจันทร์ วันอังคาร วันพุธ
                          ้
(เช้ า) วันพุธ(เย็น) วันพฤหัสบดี วันศุกร์ วันเสาร์ และวันอาทิตย์ ใครเกิดวันไหนก็ไปสรงนาพระประจาวัน
                                                                                      ้
เกิดของตน


4
    กิติมา อมรทัต. พมา (สหภาพเมียนมาร์ ). พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพฯ: บริ ษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสู่โลก
                                                  ้
กว้ าง จากัด, 2543.
เจดีย์ชเวดากองนันยึดหลักไตรภูมิวา องค์เจดีย์ชเวดากอง คือ ศูนย์กลางแห่งจักรวาลล้ อมรอบด้ วย
                        ้               ่
ภูเขาสัตบริภณฑ์ (เจดีย์องค์เล็ก) และมหานทีสีทนดร ทาให้ นึกถึงวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามที่สร้ างตาม
            ั                                ั
คติความเชื่อไตรภูมิเหมือนกัน โดยรอบจักรวาลแบ่งเป็ น 8 ทิศ แทนวันในหนึ่งสัปดาห์ (วัน 8 คือ วันพุธ
(เย็น)) นอกจากนี ้ยังมีสตว์สญลักษณ์แทนดาวพระเคราะห์ดวงต่างๆ ตามตาราโหรศาสตร์ด้วย5
                        ั ั

      ซึ่งจากพัฒนาการทางประวัติศาสตร์การเมืองของพม่า ส่งผลให้ ความภูมิใจในพระมหาเจดีย์ชเวดา
กองคงมิได้ มาจากศรัทธาหรือความรู้ในหลักสุนทรียศาสตร์เท่านัน แต่เป็ นการชื่นชมในศักดิ์ศรีของประเทศ
                                                          ้
ที่ได้ ผานการต่อสู้เพื่อเอกราชและอธิปไตยมาแล้ วอย่างโชกโชน
        ่

        ลักษณะการกอสร้ าง

        เมื่อกล่าวถึงลักษณะงานสถาปั ตยกรรมของพระมหาเจดีย์ชเวดากองจะพบว่า มีลกษณะสาคัญ
                                                                            ั
ของระบบจักรวาลพุทธ – ฮินดูสอดคล้ องอยู่6 ทังเจดีย์และวิหารล้ วนเป็ นศูนย์กลางของกิจกรรมต่างๆ ทาง
                                           ้
สังคมวัฒนธรรม




5
     Catfishae.       โ ป ส ก า ร์ ด เ ล า เ รื่ อ ง ต อ น ที่ 2.   ( ร ะ บ บ ออ น ไ ล น์ ) แ ห ล่ ง ที่ ม า
http://www.oknation.net/blog/print.php?id=540423 (1 ธันวาคม 2552)
6
  อันประกอบขึ ้นจากการรวมตัวของธาตุ ซึ่งจักรวาลที่เราอยู่อาศัยมิใช่มีเพียงจักรวาลเดียวเท่านัน แต่ยังมี
                                                                                            ้
จักรวาลนับไม่ถ้วน ที่เรียกว่า อนันตจักรวาล และใน จักรวาลที่มากมายนัน จะมีองค์ประกอบที่เหมือนกัน
                                                                          ้
ทุกประการ จักรวาลเป็ นที่อยู่อาศัยของสัตวโลกทัง หยาบและละเอียดจานวนมาก ที่เรามองเห็นและมองไม่
                                                 ้
เห็น มีอยู่ถึง 31 ภูมิด้วยกัน แต่ละภพภูมิมีความ เป็ นอยู่ที่แตกต่างกัน ตามลักษณะบุญและบาปที่เกิดจาก
การกระทาของตนในครังเป็ นมนุษย์ และมนุสสภูมิ เป็ นศูนย์กลางของการทาความดีและความชัว โดยมีภพ
                          ้                                                               ่
ภูมิอื่น เป็ นผลรองรับการทาบุญและบาปของมนุษย์
ปลายยอดสถูปประดับด้ วยเพชร 5,448 เม็ด ทับทิม นิล และบุษราคัมอีก 2,317 เม็ด มีมรกตเม็ดเขื่องอยู่ตรง
กลาง เพื่อรับลาแสงแรกและลาแสงสุดท้ ายของดวงอาทิตย์ ทั ้งหมดนี ้ประดับอยู่ด้านบนเหนือฉัตรขนาด 10 เมตร ซึงสร้ าง
                                                                                                       ่
                 ขึ ้นบนไม้ ห้ มทองเจ็ดเส้ น ประดับด้ วยกระดิ่งทองคา 1,065 ลูก และกระดิ่งเงิน 420 ลูก
                               ุ

         พ ร ะ เ จ ดี ย์ ช เ ว ด า ก อ ง เ ป็ น เ จ ดี ย์ คู่ บ้ า น คู่ เ มื อ ง ข อ ง ช า ว พ ม่ า ค า ว่ า ช เ ว
(Shwe) หมายถึ ง ทองค า ส่วน ดากอง มาจากคาว่า Dagon หรื อ ตะเกิ ง ซึ่งเป็ นนามเดิมของนครย่ าง
กุ้ง “ชเวดากอง” แปลว่า “เจดีย์ทองแห่งเมืองดากอง” ได้ รับการบูรณปฏิสงขรณ์มาหลายครังด้ วยกัน ราช
                                                                   ั             ้
ประเพณี ของกษัต ริ ย์มอญ และพม่า เมื่อจะขึ ้นครองราชย์ จะต้ องท านุบารุงบูรณะองค์พระเจดีย์ และมี
บางพระองค์ถวายทองคาเท่ากับ หรือ มากกว่าน ้าหนักของพระองค์ เพื่อนามาห่อหุ้มองค์มหาเจดีย์ทงองค์
                                                                                        ั้
ส่วนเรือนยอดประดับด้ วยเพชร 5,448 เม็ด รวมทังทับทิม นิล และบุษราคัมอีก 2,317 เม็ด และที่ปลายยอด
                                            ้
ประดับด้ วย เพชรเม็ดที่ใหญ่ที่สด ขนาด 72 กระรัต
                               ุ

         ปั จจุบนพระเจดีย์มีความสูง 326 ฟุต เส้ นรอบวง 1,420 ฟุต สูงกว่าระดับน ้าทะเล 190 ฟุต ประดับ
                ั
ด้ วยแผ่นทองคา 4 หมื่นแผ่น รวมนาหนักทอง 8 ตัน สาหรับฉัตรซึ่งครอบยอดเจดีย์ ก็มีการซ่อมแซมหรื อ
                               ้
สร้ างขึ ้นใหม่มาเป็ นระยะๆ ฉัตรเก่าสร้ างในสมัยพระเจ้ ามิน ดงในปี ค.ศ. 1871 สูง 33 ฟุต เส้ นผ่าศูนย์กลาง
18 ฟุต ขณะนี ้ก็ยังตังไว้ ให้ ประชาชนได้ ชมอยู่ ครังล่าสุดได้ มีการสร้ างฉัตรขึ ้นใหม่เมื่อ 8 ปี ที่ผ่านมานีเ้ อง
                     ้                             ้
โดยประดับเพชรพลอยรวมถึง 4,351 เม็ดรวม น ้าหนัก 2,000 กะรัต เพชรเม็ดใหญ่ที่สดบนยอดฉัตรมีฐาน
                                                                           ุ
กว้ าง 2 ฟุต ยาว 1 ฟุต 10 นิ ้ว และหนัก 76 กะรัต นอกจากนี ้ พระเจดีย์ชเวดากองก็ยังมีวตถุที่มีคณค่าทาง
                                                                                     ั        ุ
ศาสนา ศิลปะ ประวัติศาสตร์ และอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ระฆัง ที่พระเจ้ าสิงคุ (Singhu) ทรงสร้ างไว้ เมื่อปี
ค.ศ. 1778 หล่อด้ วยปั ญจโลหะ คือทอง เงิน ทองแดง ตะกั่วและสังกะสี สูง 8 ฟุต หนัก 23 ตัน ในปี ค.ศ.
1824 พม่าได้ ทาสงครามกับอังกฤษเป็ นครังแรกและอังกฤษได้ ยึดเจดีย์ชเวดากองได้ และได้ ขนทรัพย์สิน
                                      ้
แก้ วแหวนเงินทองไปหลายอย่าง รวมทังได้ คิดที่จะขนย้ ายระฆังใบนีกลับไปอังกฤษด้ วย แต่ระหว่างการ
                                 ้                            ้
เดินทางเรือที่ขนระฆังจมลงที่แม่น ้าย่างกุ้ง ต่อมาพม่าจึงทาการกู้ระฆังใบนี ้ด้ วยตนเองและนามาติดตังไว้ ที่
                                                                                                 ้
เจดีย์ชเวดากองได้ เช่นเดิม ซึ่งเป็ นที่ภาคภูมิใจของประชาชนพม่าโดยทัวไปมาจนทุกวันนี ้นอกจากนันก็ยงมี
                                                                   ่                        ้ ั
พระพุทธรูปสลักจากหยกทังก้ อน ซึ่งได้ มาจากรัฐคะฉิ่นในปี ค.ศ. 1999 ในโอกาสที่ได้ สร้ างฉัตรใหม่ และยัง
                            ้
มีต้นพระศรีมหาโพธิ์ซึ่งได้ นาเมล็ดมาปลูกจากพุทธคยาเมื่อ 79 ปี ก่อน และของมีคาอื่น ๆ อีกมากมาย7
                                                                            ่

          ซึ่ง การดูแลรักษาเจดีย์ ช เวดากอง ในทุก ๆ 50ปี จะน ายอดฉัตรของพระเจดีย์ ลงมาบูรณะ และ
อนุญาตให้ ประชาชน นาเครื่องสักการะ คือ เครื่องประดับอัญมณี แก้ ว แหวน เงินทอง เพชร นิล จินดา มา
ถวายเป็ นพุทธบูชา เพื่อขึ ้นติดไว้ บนยอดฉัตรของพระเจดีย์

การสักการะพระเจดีย์

          การสักการะพระเจดีย์ชเวดากอง มี 2 แบบ คือ แบบสามัญและแบบวิสามัญ

          1. แบบสามัญ

          โดยการถือเครื่องสักการะขึ ้นไปยังวิหาร จากนันก็จดธูปเทียนถวายเครื่องสักการะกราบไหว้ สวดคา
                                                      ้ ุ
บูชารัตนตรัย แล้ วเดินประทักษิ ณพระเจดีย์ชเวดากอง (หมายถึง หันด้ านขวาเข้ าหาองค์พระเจดีย์ โดยมาก
จะเดินเวียนรอบพระเจดีย์ 3 รอบ) เป็ นอับเสร็จพิธี

          2. แบบวิสามัญ

          เกี่ยวเนื่องกับเทวดานพเคราะห์ คนพม่านับถือตารานพเคราะห์อย่างเดียวกับไทยเรา เหมือนเช่นให้
ชื่อคนก็ขึ ้นด้ วยตัวอักษรตามวรรคประจาวันเป็ นต้ น แต่พม่าจะนับถือเทวดานพเคราะห์ยิ่งกว่าไทยเสียอีก ที่
ลานพระเจดีย์ชเวดากอง (และพระมหาธาตุองค์อื่นๆก็เหมือนกัน) ทาหลักปายมีรูปเทวดากับสัตว์พาหนะ
                                                                ้
และมีชื่อบอกนามปั กประจาไว้ ตามทิศทัง 8 ได้ แก่
                                    ้

          วันอาทิตย์ - ครุฑ อยู่ที่ทิศตะวันออกเฉียง เหนือของลานเจดีย์

          วันจันทร์ - เสือ อยู่ทิศตะวันออก

          วันอังคาร - สิงห์ อยู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้


7
    พวงนิล คาปั งสุ์. พมา. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสูโลกกว้ าง จากัด, 2546.
                                                                 ่
วันพุธ (เช้ า) - ช้ างงา อยู่ทิศใต้

        วันพุธ(กลางคืน) - ช้ างไม่มีงา อยู่ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ

        วันพฤหัสบดี - หนู อยู่ทิศตะวันตก

        วันศุกร์ - หนูตะเภา (บางคนเชื่อว่าเป็ น กระต่ายหูสน) อยู่ทิศเหนือ
                                                          ั้

        วันเสาร์ - พญานาค อยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้




        ดังรูปจะเห็นว่า ทางเข้ าพระเจดีย์ชเวดากองจะมีทง 4 ทิศ แต่ทางเข้ าใหญ่คือทางทิศใต้ ซึ่งมีสิงห์นง
                                                      ั้                                              ั่
สองตัวสูง 30 เมตรเฝาทางเข้ าอยู่ เมื่อเข้ าไปถึงที่ทาการของคณะกรรมการบริหารชเวดากอง ก็จะได้ รับการ
                  ้
เชื ้อเชิญให้ เข้ าไปในห้ องเพื่อถอดรองเท้ าแล้ วผู้แทนคณะกรรมการเจดีย์ฯซึ่งจะทาหน้ าที่เป็ นมัคคุเทศก์ก็จะ
นาไปขึ ้นลิฟต์ซึ่งจะขึ ้นถึงลานใหญ่ของพระเจดีย์เลย ขณะที่ประชาชนต้ องขึ ้นบันไดเลื่อนไกลหน่อย เมื่อขึ ้น
ไปถึงลาน มัคคุเทศก์ก็จะนาไปที่ศาลาเพื่อจุดธูปเทียนไหว้ พระ ถวายดอก ไม้ และจตุปัจจัยบารุงเจดีย์ แล้ ว
เซ็นหนังสือในสมุดเยี่ยม หลังจาก นันก็เดินพาไปดูของหรือสถานที่สาคัญต่าง ๆ รอบลาน ซึ่งจะมีวิหารใหญ่
                                  ้
4 ทิศซึ่งประดิษฐานพระพุทธรูปของพระพุทธเจ้ าที่มีมาแล้ วทัง 4 พระองค์คือ พระกักกุสนโธ พระโกนาคม
                                                         ้                       ั
พระกัสสปะ และพระโคตมะองค์ปัจจุบนให้ ประชาชนได้ กราบไหว้ ทาบุญด้ วยรวมถึงการไปตีระฆังสิงคุที่เล่า
                                    ั
มาแล้ วด้ วย 3 ครัง นอกจากนันก็มีการหยุดที่ลานอธิษฐานซึ่งเชื่อกันว่าศักดิสิทธิ์มาก และเท่าที่ทราบก็เคย
                  ้         ้                                            ์
มีคนใหญ่คนโตของไทยไปตังจิตอธิษฐานจนประสบความสาเร็จมาหลายท่านแล้ ว และก็ยงมีอีกจุดหนึ่งบน
                      ้                                                 ั
ลานซึ่งเขาท าจุด ให้ ยืน ไว้ ซึ่งจะท าให้ มองเห็น ประกายเพชรบนยอดฉัตรได้ ด้วยตาเปล่า ที่ น่าสนใจอีก
ประการหนึ่งก็คือจะมีพระพุทธรูปและสัตว์สญลักษณ์ประจาวันเกิด ตังอยู่รอบ ๆ ลานเป็ นคู่ ๆ ด้ วย โดยเชื่อ
                                       ั                     ้
กันว่าการสรงน ้าพระพุทธรูปและสัตว์เหล่านี ้ จะสร้ างความบริสทธิ์และความสุขความเจริญแก่ผ้ สรงน ้า โดย
                                                            ุ                            ู
จะรดน ้าด้ วยขันเล็ก ๆ ที่มีจดเตรียมไว้ ให้ เป็ นจานวนเท่าอายุ +1 แต่สาหรับ คนแก่ ๆ ที่อายุ 60-70 ไปแล้ วก็
                             ั
อาจจะย่นย่อลง เหลือ 5 ขันก็ได้ ซึ่งหมายถึงพระรัตนตรัยรวมกับบิดามารดานันเอง
                                                                      ่

         การกราบไหว้ พระธาตุเ จดี ย์ ชเวดากองในทุก ๆเช้ า เริ่ มต้ น วันสว่างตังแต่เ วลาตี 4 ทังพระภิก ษุ
                                                                               ้               ้
สามเณร แม่ชี และชาวพม่า จะเดินทางออกจากบ้ าน มาสวดมนต์ นั่ งสมาธิ (Meditation) บูชาพระเจดีย์
และช่วยกันปั ดกวาด ทาความสะอาดพระเจดีย์ ซึ่งคนจะมากันมาก ในช่วงเช้ ามืดก่อนไปทางาน กับช่วง
เย็นเวลาหลังเลิกงานตังแต่ 6โมงเย็นจนถึงเวลา 3ทุ่ม ชาวพม่าจะมาสวดมนต์ นั่งสมาธิ เหมือนช่วงเช้ ามืด
                     ้
พอเวลาประมาณ 1ทุ่ม จะมีหนุ่มสาวชาวพม่าจานวนมาก มาช่วยกันกวาดถู ทาความสะอาดพระเจดีย์
กวาดกันเป็ นทิวแถว อย่างพร้ อมเพรียงเหมือนที่วดพระธรรมกายของเรา เวลาของการทาความสะอาดพระ
                                              ั
เจดีย์จะเป็ นเวลาแห่งความสนุกสนาน ที่ทกคนรอคอยจะเก็บบุญสุดท้ ายก่อนกลับเข้ าบ้ านเพื่อพักผ่อน โดย
                                      ุ
ทุกคนจะเอาไม้ กวาดและผ้ ามาเอง ทากันอย่างพร้ อมเพรียง เมื่อถึงเวลานอน ชาวพม่าจะหันศีรษะไปทาง
ทิศที่เจดีย์ชเวดากองตังอยู่ เพื่อทาความเคารพและบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า
                      ้

         และสิ่งที่เป็ นเอกลักษณ์ เป็ นวัฒนธรรมชาวพุทธของชาวพม่า ที่นกท่องเที่ยวทุกคนต้ องปฏิบติ โดย
                                                                     ั                        ั
ไม่เลือกชัน วรรณะ หรื อเผ่าพันธุ์ คือ ประเพณีการถอดรองเท้ าเข้ าวัด รวมถึงถุงเท้ า และถุงน่องก็ห้ามใส่
          ้
ชาวพม่าจะถือเคร่งครัดมาก ไม่วาเด็ก ผู้ใหญ่ หากเป็ นนักท่องเที่ยวเผลอสวมรองเท้ าเดินเข้ าเขตวัด เขาจะ
                                 ่
ร้ องทัก ตักเตือน ให้ ถอดทันที โดยไม่ดดาย เพราะถือว่า เป็ นหน้ าที่ของเขาที่จะรักษาสถานที่ศกดิ์สิทธิ์ มิให้
                                      ู                                                    ั
ผู้ใดล่วงละเมิดได้ 8

      ดังนันจะเห็นได้ วาพระเจดีย์ชเวดากอง ศาสนสถานอันยิ่งใหญ่สาคัญ และมีชื่อเสียงมากที่สดใน
           ้               ่                                                                      ุ
ประเทศพม่า เป็ นสิ่งศักดิสิทธิ์ที่ชาวพม่านับถือสูงสุดเป็ นศูนย์รวมจิตใจของชาวพม่าทุกคน ที่แม้ จะอยู่ไกล
                         ์
แสนไกลขนาดไหน การเดินทางจะลาบากยากเข็ญเพียงไรจะต้ องเดินทางมานมัสการองค์เจดีย์ชเวดากอง
ให้ ได้ สกครังหนึ่งในชีวิต
         ั ้




8
       ที วี ช่ อ ง คุ ณ ธ ร ร ม .   เ จ ดี ย์ ช เ ว ด า ก อ ง .     ( ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ) แ ห ล่ ง ที่ ม า
http://www.dmc.tv/pages/latest_update/Myanmar_Buddhism_2.html (14 พ.ย. 2550)
ความเชื่อพระธาตุชเวดากองและปี นักษัตรในมิติตางๆ

        พระธาตุชเวดากอง เป็ นแหล่งสถานที่สาคัญแห่งหนึ่งที่รวบรวมพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาว
พม่าที่มีต่อพระพุทธศาสานา ซึ่งความเชื่อนี ทาให้ ชาวพม่ายังคงอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมทางพุทธศาสนา
                                          ้
เอาไว้ อย่ างเหนียวแน่น และมีศ รัทธาในพุทธศาสนาสูงในแต่ละวัน ไม่ว่าจะเป็ นวัน ธรรมดา วันหยุดสุด
สัปดาห์ วันสาคัญทางศาสนา ผู้คนจะหลังไหลไปกราบไหว้ ทาบุญที่วดต่างๆ ไม่ขาดสาย ดังนันคติความ
                                   ่                       ั                     ้
เชื่อในด้ านพระพุทธศาสนา จึงเป็ นส่วนสาคัญที่ทาให้ พระธาตุเจดีย์ชเวดากองเป็ นศูนย์รวมความศรัทธาใน
ด้ านต่างๆ ไม่วาจะเป็ นทางด้ านสังคม การเมือง เศรษฐกิจ เป็ นต้ น
               ่

        ในด้ านการเมืองพม่าหรือสหภาพเมียนมาร์ เป็ นประเทศสังคมนิยม แต่ความเชื่อในทางศาสนาและ
ประเพณีพิธีกรรมยังคงมีความหมายและความสาคัญอย่างมาก ศาสนาพุทธกับประชาชนพม่านัน ดูจะมี
                                                                            ้
ส่วนเกี่ยวข้ อง ช่วยเหลือกันอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องกันมาเป็ นเวลายาวนานตังแต่อดีต แม้ การสนับสนุน
                                                                           ้
จะไม่ได้ มาจากกษัตริย์ดงเช่นในอดีต แต่ศาสนาพุทธก็จาเป็ นต้ องดารงอยู่ เพื่อทาหน้ าที่ที่เป็ นมากกว่าสิ่ง
                       ั
เคารพและความเชื่อที่สงต่อมาจนถึงปั จจุบน
                     ่                 ั

        ในสังคมพม่า พระพุทธศาสนาและวัดเองยังคงมีความสาคัญต่อวิถีชีวิตอับสงบสุขของพม่าอย่าง
เห็นได้ ชด กล่าวได้ วา วัด เป็ นศูนย์กลางของชุมชน เป็ นสถานที่โอ่โถงและงดงาม ขณะที่ความเป็ นอยู่ของ
         ั           ่
ชาวพม่าเองอยู่ในสภาพซอมซ่อยากจนน่าเวทนามาก วัดพม่าโดยมากสร้ างประณีตด้ วยศิลปกรรมปูนปั น
                                                                                       ้
ไม้ แกะสลัก และมีบริเวณวัดที่สะอาดร่มรื่ น ผู้คนทังเด็ก ผู้ใหญ่ และคนแก่จะพากันมากราบไหว้ พระและ
                                                  ้
ทาบุญเป็ นประจา

        ส่วนในด้ านเศรษฐกิจนัน พระมหาเจดีย์ชเวดากอง นอกจากจะเป็ นศูนย์รวมศรัทธาของชาวพม่า
                             ้
แล้ ว ยังเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญแห่งหนึ่งที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวจากทุกมุมโลกต้ องมาเยือนพม่า
จนเป็ นที่รับรู้กนว่าใครมาถึงพม่าแล้ วไม่ได้ มาชมหรื อนมัสการมหาเจดีย์ชเวดากองก็เหมือนมาไม่ถึงพม่า
                 ั
นอกจากนีเ้ ราพบว่าความสาคัญของพระพุทธศาสนานันเชื่อมโยงกับพระธาตุในปั จจุบนได้ ดงนี ้
                                            ้                            ั     ั

1. เป็ นสถาบันในการสงเสริม สนับสนุนให้ กับเด็ก และผู้ยากไร้ ได้ เรียนและอาศัย

        เด็กจานวนมากทังหญิ งและชายที่กาพร้ าและยากจนจานวนมากถูกส่งตัวมายังวัด และวัดได้ ให้
                      ้
การสนับสนุนให้ เด็กที่ยากจนและขาดโอกาสทางการศึกษาได้ เข้ ามาเรียนฟรี พร้ อมทังมีอาหารและที่อยู่ได้
                                                                             ้
พักอาศัยอีกด้ วย ตัวอย่างวัดดังกล่าวมีชื่อว่า วัดผองดอว์อู ซึ่งตัววัดจะมีการรับเด็กจากทั่วทังประเทศพม่า
                                                                                            ้
มาเลี ้ยงดู และให้ การศึกษาเพื่อที่จะให้ เด็กมีชีวิตในอนาคตที่ดี

2. เป็ นที่พ่งทางใจให้ กับการดารงชีวต
             ึ                      ิ

        พระพุทธรูป และสิ่งเคารพอันมีความสาคัญต่อชาวพม่าทั่วไป การแขวนผ้ าสี การประดับไฟ หรื อ
การจุดธูปเทียนกราบไหว้ สิ่งอันเป็ นสัญลักษณ์ของความศักดิสิทธิ์ ได้ กลายเป็ นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของชาว
                                                        ์
พม่าไปซะแล้ ว ในบริเวณรอบ ๆ วัด เราจะพบเห็นการเข้ ามาขอพร หรือการรดนาประจาวันเกิดตลอดเวลา
                                                                    ้
จากการสังเกตช่วงเวลาที่อยู่ในเจดีย์ชเวดากอง บริเวณที่มีการสรงน ้าพระประจาวันเกิดนัน ได้ พบเห็นผู้คน
                                                                                  ้
เข้ ามาสรงน ้าตลอดเวลา

3. เป็ นพลังในการขับเคลื่อนทางสังคม

         จากเหตุการณ์ที่ผานมาของพม่า จะเห็นว่าการรวมตัวของประชาชนชาวพม่านัน ย่อมก่อร่างสร้ าง
                         ่                                                ้
ตัวจากกลุ่มพระสงฆ์ที่มีความคิดในการร่วมเปลี่ยนแปลงสังคม ให้ เป็ นไปในลัก ษณะของประชาธิปไตย
ร่วมกับนางออง ซาน ซูจี ศาสนาพุทธได้ ใช้ ความเป็ นผู้ร่วมศรัทธาในสิ่งเดียวกันในการติดต่อและสร้ างพลัง
อันยิ่งใหญ่ให้ เกิดขึ ้นในสังคมที่มีความแตกต่างเป็ นอย่างมากทางชาติพันธ์ให้ เกิดขึ ้นได้ พระสงฆ์ไม่ได้ มี
หน้ าที่ในการศึกษาพระธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้ าเพียงอย่างเดียว แต่พระสงฆ์ในประเทศพม่านัน ยังมี
                                                                                     ้
ความจ าเป็ นที่ ต้ องศึก ษาทางโลกและด าเนิ น การเกี่ ย วกับ ทางโลกโดยเป็ น เสมือนครู ที่ เ ปิ ดกว้ างทาง
ความคิดให้ แก่ประชาชน อย่างที่ ได้ กล่าวไว้ ในข้ อแรกว่า ศาสนาเป็ นสถานบันที่ส่งเสริ มให้ ผ้ ยากไร้ และ
                                                                                             ู
ยากจนได้ เข้ ามาอยู่พก อาศัย และเรียนหนังสือ ทาให้ ความสัมพันธ์ของประชาชนกับศาสนามีความผูกพัน
                     ั
กันยิ่งกว่าสถาบันอื่น ๆ ในสังคม การที่พระสงฆ์จะใช้ ศาสนาในการดึงผู้คนเข้ ามาร่วมกิจกรรมจึงเป็ นการ
ง่ายด้ วย ความคุ้นเคย

4. เป็ นพลังในการลดความขัดแย้ งที่เกิดขึนในสังคม
                                        ้

         ศาสนาพุทธได้ มีบทบาทในการเจรจาให้ เกิดสันติภาพขึ ้นภายในประเทศ โดยการนาหลักคาสอน
ของศาสนาพุทธเข้ ามาเกี่ยวข้ องกับการยุติปัญหาความขัดแย้ ง 9ที่ได้ แสดงให้ เห็นว่าเรื่ องของบาปและบุญ


9
    นฤมล ธีรวัฒน์ และคณะ. มองพมาผานชเวดากอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โอ.เอส.พรินติ ้งเฮ้ าส์, 2551.
                                                                         ้
ของศาสนาพุทธได้ ทาให้ การเจรจาตกลงในการยุติปัญหาเกิดขึ ้นได้ เพราะผลของปั จจุบันจะเป็ นเช่นไร
ย่อมขึ ้นอยู่กบบาปและบุญที่ ทาไว้ ในอดีต การอ้ างเหตุผลทางศาสนาเรื่ องนีนน ย่อมทาให้ กลุ่มต่าง ๆ ใน
              ั                                                         ้ ั้
พม่าเข้ าใจได้ ว่า การที่ คนเหล่านันอันหมายถึงทหารผู้มีอานาจเผด็จการอยู่นน ได้ ครองทรัพย์สินต่าง ๆ
                                   ้                                     ั้
ภายในประเทศและมีอานาจมากกว่าพวกเขา เป็ นผลมาจากบุญที่พวกเขาได้ กระทาไว้ ในอดีต ฉะนันการจะ
                                                                                   ้
รอให้ ผลบุญหมดจึงเป็ นเรื่องที่ควรกระทา นันคือการรอจนกว่ารัฐบาลทหารจะหมดบุญกุศล และพวกเขาจึง
                                          ้
สามารถที่จะรวมประเทศ หรือสามารถเรียกร้ องสิทธิอนควรจะมีตอกลุมของตนเองได้
                                               ั        ่ ่

5. เป็ นวัตถุเพื่อการค้ าขายให้ กับนักทองเที่ยว

          การเข้ ามายังพม่าในสถานที่ท่องเที่ยวทุกแห่งของประเทศพม่า จะพบเห็นสิ่งของที่ระลึกในรูปแบบ
ของพระพุทธรูป เศียร์พระ หรือภาพวาดที่เกี่ยวกับศาสนาในรูปแบบต่าง ๆ คงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร สาหรับ
การเปลี่ยนวัฒนธรรมที่พวกเขานับถือและเห็นว่ามีค่าในการนาไปเคารพบูชาที่บ้านสาหรับนักท่องเที่ยว
เป็ นอีกหนึ่งกระบวนการที่เกิดจากการเปิ ดการท่องเที่ยวที่กว้ างขึ ้นของประเทศพม่า นักท่องเที่ยวที่หลังไหล
                                                                                                    ่
เข้ ามาอย่างต่อเนื่องตังแต่ช่วงที่ค วามสงบเริ่ มเกิดขึ ้นในพม่า เป็ นจุดที่ท าให้ ประชาชน หรื อหมู่บ้านที่ มี
                       ้
บริ เ วณใกล้ เ คี ย ง หยิ บ เอาวัฒนธรรมของเขา มาแปรรู ป เป็ นสิน ค้ า หรื อ ที่ เ ราเรี ย กกัน ว่า “การกลาย
วัฒนธรรมให้ เป็ นสินค้ า”

                  ดังนัน กล่าวโดยสรุป ด้ วยความศรัทธาอันเปี่ ยมล้ นของชาวเมียนมาร์ (พม่า) ที่มีต่อพระ
                       ้
เจดีย์ชเวดากองนี ้ เราจะเห็นได้ ชัดจากการที่มีประชากรมากราบไหว้ สกการะบูชา เป็ นประจ าทุกวันทุก
                                                                 ั
ชัวโมง หรื อทุกๆนาที หรื ออาจเรี ยกได้ ว่า ตลอด 24
  ่                                                                1,440                    จะ      มา     บ
ไหว้ พระเจดีย์ตลอดเวลาไม่มีขาด ไม่ว่าจะเป็ นที่ลานพระเจดีย์ หรื อเวลาไหนก็จะพบคนมากราบไหว้ พระ
เจดีย์เวลานัน ทังกลางวันและกลางคืน อีกทังความสัมพันธ์ของคนพม่าชนบทและเมืองยังคงเป็ นเรื่ องทาง
            ้ ้                         ้
ศาสนาและประเพณี โดยเฉพาะอย่ างยิ่งพระธาตุช เวดากอง ที่ สะท้ อนให้ เห็นถึงกระบวนการอบรมทาง
สังคมและวัฒนธรรมที่ เป็ นไปโดยอัตโนมัติและต่อเนื่องกันมาช้ านานเป็ นสาคัญ เพราะวัดพม่ายังดารง
ความศูนย์รวมทางวัฒนธรรมทังทางวัตถุและจิตใจเป็ นอย่างดี แม้ ในปั จจุบันคนพม่าอาจจะพึ่งพารัฐไม่ได้
                         ้
แต่ก็พึ่งวัดได้
เอกสารอ้ างอิง

ภาษาไทย

    กิติมา อมรทัต. พมา (สหภาพเมียนมาร์ ). พิมพ์ครังที่2. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสูโลก
                                                  ้                                            ่
กว้ าง จากัด, 2543.
    พวงนิล คาปั งสุ์. พมา. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสูโลกกว้ าง จากัด, 2546.
                                                                 ่
    นฤมล ธีรวัฒน์ และคณะ. มองพมาผานชเวดากอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โอ.เอส.พรินติ ้งเฮ้ าส์, 2551.
                                                                         ้
    สุภทรดิศ ดิศกุล. เที่ยวดงเจดีย์ท่ พมาประเทศ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มติชน, 2545.
       ั                              ี

รายการอ้ างอิงทางอิเลกทรอนิกส์

    สุริยา เพลินทรัพย์. พระบรมธาตุ. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา

http://student.nu.ac.th/phratad/index.htm (29 สิงหาคม 2545)

    ร้ อยเรียงเรื่องราว. คติไหว้ พระธาตุประจาปี เกิด. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา

http://www.travelfortoday.com/story_partart.htm (24 พฤษภาคม 2547)

    Catfishae. โปสการ์ ดเลาเรื่อง ตอนที่ 2. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=540423 (1 ธันวาคม 2552)

    ทีวีช่องคุณธรรม. เจดีย์ชเวดากอง. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา

http://www.dmc.tv/pages/latest_update/Myanmar_Buddhism_2.html (14 พ.ย. 2550)

    Joeeleo. พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง Shwedagon. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา

http://joeeleo.multiply.com/photos/album/60/60# (23 พฤศจิกายน 2551)

More Related Content

พระธาตุชเวดากอง

  • 1. พระมหาเจดีย์ชเวดากอง: ความเชื่อและพิธีกรรมปี นักษัตร นางสาวคุณากร หนูนนท์ ั 5224610377 ในสมัย โบราณพม่า มีค วามเชื่ อทางด้ านพระพุท ธศาสนาเป็ นอย่ า งยิ่ ง ตังแต่พัฒ นาการทาง ้ ประวัติศาสตร์ การเมืองของพม่า โดยเฉพาะการยึดครองพม่าตอนล่างโดยจักรวรรดินิยมอังกฤษตังแต่ปี ้ พ.ศ.2367 เป็ นต้ นมา ส่งผลให้ ผ้ คนในพม่าหันมานับ ถือมากยิ่งขึ ้นตังแต่อดีตจนถึงปั จ จุบัน ซึ่งพระมหา ู ้ เจดีย์ชเวดากองเป็ นจุดเริ่มต้ นของความเป็ นพม่า เนื่องจากเจดีย์นีเ้ ป็ นศูนย์รวมทางศาสนาและความเชื่อ อีกทังยังเป็ นสัญลักษณ์เด่นของความเป็ นพม่าที่แสดงออกถึงอธิปไตย อิสรภาพ และประเพณีได้ อย่างสง่า ้ งาม ความสาคัญของพระธาตุ ในสังคมพม่าจะนับถือและปฏิบัติตามประเพณี ที่มีลกษณะผสมผสานของศาสนาและความเชื่อ ั ต่างๆ ที่มีอยู่ในดินแดนพม่า อาทิเช่น ความเชื่อของพระมหาเจดีย์ หรื อพระธาตุที่เป็ นจุดรวมศรัทธาแห่ง หนึ่งที่สะท้ อนให้ เห็นถึงความเป็ นพุทธของคนจากทุกชนชันและจากทุกแห่งหนในประเทศพม่าโดยไม่คานึง ้ เชื ้อสายเผ่าพันธุ์ คติการไหว้ พระธาตุ เป็ นตานานความเชื่อของคนล้ านนาทางเหนือและในเขตพม่าว่า เป็ นความเชื่อ ในเรื่องของปี นักษัตรที่สมพันธ์กบปี เกิด และการนับอายุของแต่ละคนที่เป็ นที่รับรู้กนอย่างแพร่หลาย ในแต่ ั ั ั ละปี นัก ษั ตรจึงก าหนดด้ วยสัญ ลัก ษณ์ เ ป็ นสัตว์ป ระจ าปี เกิ ด หรื อที่ เ รี ย กว่า ๑๒ นัก ษั ตร และมีความ สอดคล้ องกับการไหว้ พระธาตุประจาปี เกิด มาแต่โบราณ ซึ่งยึดถือเอาพระธาตุเป็ นที่พึ่ง และคุ้มครองตน ดังนันการไหว้ บูชาพระธาตุทุกคืน จึงเป็ นสิ่งที่ขาดไม่ได้ อีกทังยังถื อกันว่า ในชีวิตหนึ่งควรได้ มีโอกาสไป ้ ้ สักการบูชาสักครัง ให้ เกิดความเป็ นสิริมงคลมีอายุมนขวัญยืนทังยังได้ บญอานิสงส์มาก ้ ั่ ้ ุ "คติการไหว้ พระธาตุ" หมายถึง กระดูก หรือ ส่วนของร่างกายต่างๆ เช่น ผม ขน เล็บ ฟั น หนัง โลหิต ฯลฯ ที่มีคณลักษณะเป็ นที่แตกต่างจากสามัญชนทั่ วไป โดยมีลกษณะคล้ าย ' ธาตุ ' ซึ่งหากมองโดยไม่ ุ ั สังเกตให้ ดีแล้ ว ก็คล้ าย กรวด หิน แก้ ว เพชร ฯลฯ ดังนันคาว่า พระบรมธาตุ และ พระธาตุ ยังอาจหมายถึง ้ สถูปเจดีย์ตางๆได้ อีกด้ วย เช่น พระบรมธาตุไชยา พระธาตุดอยสุเทพ พระธาตุพนม ฯลฯ ่
  • 2. จะเห็นได้ ว่าค าว่า พระธาตุ มีหมายความถึงพระบรมสารี ริกธาตุของพระพุทธเจ้ าและยังรวมถึ ง สถานที่ ห รื อพระเจดี ย์ ที่ บ รรจุพระบรมธาตุด้วย ซึ่ งในแต่ล ะแห่ง จะมีตานานหรื อประวัติที่ เ ล่าถึ งมูล เหตุการณ์สร้ างพระบรมธาตุเจดี ย์ ซึ่งสัมพันธ์ กับการเสด็จโปรดสัตว์ ของพระพุท ธเจ้ าในดินแดนต่างๆ เหล่านี ้ และสถานที่ที่พระองค์เสด็จไปถึง รวมถึงการสร้ างพระบรมธาตุเจดีย์ขึ ้น ณ ที่นนมักจะกลายเป็ น ั้ เมืองสาคัญ ในเวลาต่อมาอีกทังประวัติ พระธาตุ หรื อตานานพระธาตุนัน ยังอาจหมายถึ งตานาน หรื อ ้ ้ ประวัติความเป็ นมาของบ้ านเมืองแต่ละท้ องถิ่นอีกด้ วย คติการบูชาพระธาตุ สมัยโบราณมักจะบูชาพระบรมธาตุด้วยเครื่องหอม และข้ าวตอกดอกไม้ ตามปกติแล้ วจะสรงพระ ธาตุด้วยน ้าสะอาด อาจเจือด้ วยน ้าหอม เนื่องจากองค์พระบรมธาตุ ส่วนใหญ่บรรจุอยู่ใต้ ฐานพระเจดีย์ การ สรงน าจึง กระท าโดยการราดน า ไปบนองค์ พระเจดีย์ พระธาตุบ างองค์ จ ะต้ องใช้ น าจากแหล่ง พิ เ ศษ ้ ้ ้ อย่ า งเช่ น การสรงน า พระธาตุ ศ รี จ อมทอง ใช้ น า จากน า แม่ก ลางเจื อ ด้ ว ยน า หอมหรื อ แก่ น จัน ทน์ ้ ้ ้ ้ กล่าวได้ ว่าคติ ก ารบูช าพระธาตุปี เกิ ด และ ตานานที่ เ กี่ ยวข้ องสะท้ อนถึ ง การเผยแผ่ของพุท ธ ศาสนาในดินแดนไทยมาแต่โบราณ นอกจากนี ้ การสร้ างพระบรมธาตุเจดีย์ ยังสัมพันธ์กับการเกิดชุมชน เมืองต่างๆ อันก่อให้ เกิดคติความเชื่อ และวัฒนธรรมร่วมกันของผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ โดยเฉพาะใน ภาคเหนื อ ของไทย ที่ มี ก ลุ่ ม ชนมากมายอาศัย อยู่ โดยมี พ ระบรมธาตุเ จดี ย์ และสิ่ ง ส าคั ญ ทาง พระพุทธศาสนา เป็ นศูนย์กลางแห่งจิตใจ1 การเดินทางท่องเที่ยวไหว้ พระธาตุปีเกิด มีความสะดวกเป็ นอย่างยิ่ง เนื่องจากพระธาตุส่วนใหญ่ ตังอยู่ในภาคเหนือ และในเขตพม่า จึงสามารถจัดเส้ นทางสาหรับ ไหว้ พระธาตุ ในจังหวัดใกล้ เ คียงและ ้ ประเทศเพื่อนบ้ านได้ เช่น เชียงใหม่-ลาพูน-ลาปาง หรือ เชียงราย-น่าน-แพร่ เชียงราย-พม่า-ย่างกุ้ง เป็ นต้ น ซึ่งไม่เพียงแต่จะได้ อิ่มใจในบุญกุศล ทว่ายังได้ ชมศิลปะ และสถาปั ตยกรรมอันงดงาม ของแต่ละท้ องถิ่นอีก ด้ วย 1 สุ ริ ย า เ พ ลิ น ท รั พ ย์ . พ ร ะ บ ร ม ธ า ตุ . ( ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ) . แ ห ล่ ง ที่ ม า http://student.nu.ac.th/phratad/index.htm (29 สิงหาคม 2545)
  • 3. คติการไหว้ พระธาตุประจาปี เกิดและปี นักษัตร ความเชื่อเรื่องพระธาตุเจดีย์ประจาปี เกิดนี ้ ไม่ใช่ข้อวัตรปฏิบติหรือปรากฏในหลักธรรมคาสอนทาง ั พระพุทธศาสนา แต่เป็ นคติความเชื่อดังเดิมของชาวล้ านนา ความเชื่ อนี จะมีมาตังแต่เ มื่อใดไม่ปรากฏ ้ ้ ้ พบว่ามีบนทึกอยู่ในตาราพื ้นเมืองโบราณ สรุปใจความได้ ว่า ก่อนที่วิญญาณจะมาปฏิสนธิในครรภ์ของผู้ ั เป็ นมารดานัน วิญญาณจะลงมา ชุธาตุ ซึ่งหมายถึงการที่ดวงวิญญาณจะลงมาพักอยู่ที่เจดีย์แห่งใดแห่ง ้ หนึ่ง โดยมี ตั๋วเปิ ้ ง (สัตว์ประจานักษัตร) พามาพักไว้ และเมื่อได้ เวลา ดวงวิญญาณก็จะเคลื่อนจากพระ เจดีย์ ไปสถิตอยู่บนกระหม่อมของผู้เป็ นบิดาเป็ นเวลา 7 วัน ก่อนที่จะเคลื่อนเข้ าสูครรภ์ของมารดา และเมื่อ ่ เสียชีวิตลงแล้ ว ดวงวิญญาณก็จะกลับไปพักอยู่ที่เจดีย์นนๆตามเดิม ั้ นอกจากนันความเชื่อเรื่องปี นักษัตรยังสัมพันธ์กบคติการบูชาพระบรมธาตุ ดังปรากฏเป็ นประเพณี ้ ั การชุธาตุห รื อการไหว้ พระธาตุป ระจ าปี เกิ ด โดยครังหนึ่งในชี วิตควรมีโอกาสเดิน ทางไปไหว้ พระธาตุ ้ ประจาปี เกิดของตนเพื่อความเป็ นสิริมงคล ได้ แก่ * นมัสการพระธาตุประจาปี ชวด พระธาตุศรีจอมทอง เชียงใหม่ * นมัสการพระธาตุประจาปี ฉลู พระธาตุลาปางหลวง ลาปาง * นมัสการพระธาตุประจาปี ขาล พระธาตุช่อแฮ แพร่ * นมัสการพระธาตุประจาปี เถาะ พระธาตุแช่แห้ ง น่าน * นมัสการพระธาตุประจาปี มะโรง พระพุทธสิหิงค์ เชียงใหม่ * นมัสการพระธาตุประจาปี มะเส็ง พระศรีมหาโพธิหรือต้ นโพธิ์ * นมัสการพระธาตุประจาปี มะเมีย พระธาตุชเวดากอง พมา * นมัสการพระธาตุประจาปี มะแม พระธาตุดอยสุเทพ เชียงใหม่ * นมัสการพระธาตุประจาปี วอก พระธาตุพนม นครพนม * นมัสการพระธาตุประจาปี ระกา พระธาตุหริภญชัย ลาพูน ุ * นมัสการพระธาตุประจาปี จอ พระธาตุเกศแก้ วจุฬามณี บนสวรรค์ชนดาวดึงส์ ั้
  • 4. * นมัสการพระธาตุประจาปี กุน พระธาตุดอยตุง เชียงราย2 นอกจากนี ้ยังมีความสอดคล้ องกับคติความเชื่อของคนล้ านนาที่เชื่อมาแต่โบราณว่า เมื่อคนเราสิ ้น อายุขยแล้ ว ดวงวิญญาณจะไปสถิตอยู่ตามพระธาตุเจดีย์ต่างๆตามปี นักษัตรที่ เกิด ดังนัน ถ้ าหากได้ ไป ั ้ นมัสการพระธาตุประจาปี เกิดของตนระหว่างที่ยงมีชีวิตอยู่ หรืออย่างน้ อยสักครังหนึ่งในชีวิตย่อมถือได้ ว่า ั ้ บุญกุศลและมีอายุยืนนาน กล่าวได้ ว่า คนปี มะเมีย (ม้ า) เมื่อมีเคราะห์หรื อชีวิตช่วงใดรู้สึกว่าทาอะไรก็ ติดขัดไปหมด อยู่ไม่ติดบ้ าน มีปัญหามีอปสรรคมาก การดาเนินชีวิตไม่ราบรื่ น ควรหาเวลาโอกาสไปบูชา ุ พระธาตุประจาปี เกิดของตน ซึ่งคนปี มะเมียต้ องไปบูชา พระธาตุย่างกุ้ง หรื อพระเจดีย์ชเวดากอง ประเทศ พม่านั่น เอง ให้ ได้ ระหว่างที่ มีชี วิตอยู่หรื ออย่ างน้ อยสักครังหนึ่งในชีวิต ซึ่งนอกจากความยุ่งยากความ ้ เดือดร้ อนต่างๆในชีวิตของท่านจะคลี่คลายไปในทางที่ดีขึ ้น ยังถื อว่าท่านได้ กศลและมีอายุยืน ที่สาคัญการ ุ ที่ท่านได้ มานมัสการพระบรมธาตุนน โบราณท่านว่าได้ อานิสงค์มาก คือ ได้ บญกุศลมากนันเอง ั้ ุ ่ ดังนัน การที่บคคลซึ่งเกิดในปี นักษัตรใดก็ตาม สมควรที่จะหาโอกาสไปกราบไหว้ พระธาตุประจาปี ้ ุ เกิดของตน ให้ ได้ อย่างน้ อยครังหนึ่งในชีวิต เพราะเชื่อกันว่าเป็ นมงคลแก่ชีวิต มีอานิสงส์สงและจะทาให้ มี ้ ู อายุยืนนาน รวมถึงเชื่อว่าหากสิ ้นชีพไป ดวงวิญญาณจะได้ กลับไปยังพระธาตุองค์นน ไม่ต้องเร่ร่อนไปใน ั้ ทุกคติภพอื่นๆ ซึ่งความเชื่อเหล่านี ้เองที่แพร่หลายไปสูหลายๆพื ้นที่ของประเทศต่างๆ นอกจากนีความเชื่อ ่ ้ ดังกล่าวยังส่งผลให้ พระพุทธศาสนาดารงอยู่สืบต่อไป และทาให้ สถานที่ตามพระธาตุประจาวันเกิดต่างๆได้ กลายมาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ทางวัฒนธรรมได้ อีกด้ วย ความเป็ นมาของพระธาตุชเวดากอง หลังจากทรงปราบปรามประเทศพม่าภาคใต้ ได้ ใน พ.ศ. 2298 พระเจ้ าอลองพระหรื ออลองพยาก็ ทรงตังชื่อเมืองเล็กๆที่เคยมีชื่อมาแต่ก่อนว่า ดากอง (Dagon) ใหม่วา ยังกอง (Yan-gon) ซึ่งอาจแปลได้ ว่า ้ ่ การยุติแห่งความยุ่งยาก และทรงสร้ างเมืองใหม่ขึ ้น ณ ที่นน ในไม่ช้าเมืองยังกองหรื อย่างกุ้งก็ได้ กลายเป็ น ั้ เมืองท่าบนฝั่ งทะเลเมื่อเมืองสิเรี ยมซึ่งเคยเป็ นเมืองท่ามาก่อนได้ ถูกพระเจ้ าอลองพระทรงทาลายในพ.ศ. 2299 2 ร้ อยเรี ยงเรื่ องราว. คติ ไ หว้ พระธาตุ ประจ าปี เกิ ด . (ระบบออนไลน์ ). แหล่ ง ที่ มา http://www.travelfortoday.com/story_partart.htm (24 พฤษภาคม 2547)
  • 5. อย่างไรก็ดี เมืองยางกุ้งเพิ่งจะได้ กลายเป็ นราชธานีของประเทศพม่า และตามประวัติศาสตร์ เมือง นี ้ก็เก่าขึ ้นไปจนถึงพุทธศตวรรษที่ 16 2,000 แล้ ว "ชเว" คือ ทอง ส่วน "ดากอง" คือชื่อเดิมของเมืองย่างกุ้ง สมัยที่พระเจ้ าอลองพญาสถาปนาเมืองเล็กริมฝั่ งแม่น ้าแห่งนี ้ขึ ้นเมื่อปี พ.ศ.22983 พระธาตุชเวดากอง (ชเวติโก่งพยา) ตังอยู่บริเวณเนินเขาเชียงกุตระ เมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า ซึ่ง ้ เป็ นมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศพม่าที่มีความสาคัญยิ่งกับชาวพม่า เนื่องจากจะเป็ นศูนย์รวมศรัทธา แล้ วยังเป็ นสัญ ลัก ษณ์ ที่แสดงออกถึงอธิ ป ไตย และอิสรภาพของชาติพม่า แต่สถานการณ์ต่างๆท าให้ เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเป็ นการเปลี่ยนแปลงที่ดีจะนาความเจริญงอกงามมาสูประเทศ และพระเจดีย์ชเวดากอง ่ ก็ได้ กลายเป็ นเป็ นเจดีย์ที่สงที่สดและเก่าแก่ที่สดในโลก ู ุ ุ พระธาตุช เวดากอง ได้ เ ริ่ มสร้ างมาเป็ นครั งแรกตังแต่ส มัย ที่ พระพุท ธเจ้ า ทรงตรัสรู้ หรื อ เมื่ อ ้ ้ ประมาณ 2,595 ปี มาแล้ ว ในสมัยที่ย่างกุ้งยังเป็ นเพียงเมืองเล็ก ๆ ที่ชื่อว่าเมืองอสิตนชนะหรืออีกชื่อหนึ่งคือ ั เมืองโอกกะละ โดยได้ มีพ่อค้ าชาวมอญ 2 คนชื่อว่า ตผุสสะ และภัลลิกะ ได้ เดินทางไปค้ าขายยังประเทศ อิน เดีย ทัง สองได้ มีโอกาสเข้ าเฝาพระพุท ธเจ้ าซึ่งก าลัง ประทับ อยู่ใต้ ต้ น พระศรี มหาโพธิ์ และได้ ถ วาย ้ ้ ภัตตาหารแด่พระองค์ด้วย หลังจากเสวยเสร็จแล้ ว พระพุทธเจ้ าได้ ประทานพระเกศาให้ 8 เส้ น เมื่อตผุสสะ และภัลลิกะเดินทางกลับ พระราชาแห่งอเชตตะได้ ขอแบ่งพระเกศธาตุไป 2 เส้ น พญานาคขอไปอีก 2 เส้ น 3 Joeeleo. พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง Shwedagon. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://joeeleo.multiply.com/photos/album/60/60# (23 พฤศจิกายน 2551)
  • 6. เมื่อเดินทางกลับ ถึงเมืองอสิตนชนะ พระเจ้ าโอกกะละปะก็ได้ ทรงประกอบพิธีต้อนรับ พระเกศธาตุอย่าง ั ยิ่งใหญ่ และได้ ทรง คัดเลือกสถานที่บนเขาสิงฆุตตระนอกประตูเมืองอสิตนชนะให้ เป็ นที่สร้ างพระเจดีย์เพื่ อ ั บรรจุพ ระเกศธาตุ แต่ข ณะที่ ก าลัง ท าการขุดดิ น ก่ อ สร้ างนัน ก็ ไ ด้ ค้ น พบ พระบริ โ ภคเจดี ย์ ข องอดี ต ้ พระพุทธเจ้ าองค์อื่น ๆอีก 3 พระองค์ด้วย คือไม้ ธารพระกร ภาชนะสาหรับใส่นา และสบง จึงได้ บรรจุของ ้ ทังหมดนี ้ในพระเจดีย์พร้ อมกับพระเกศธาตุด้วย แต่ก่อนที่จะบรรจุ ก็ค้นพบด้ วยว่ า พระเกศธาตุกลับมี 8 ้ เส้ นดังเดิม พระเกศธาตุได้ บรรจุไว้ ภายในเจดีย์ทอง เงิน ดีบก ทองแดง ตะกัว หินอ่อน และเหล็กตามลาดับ ุ ่ เสร็จแล้ วจึงสร้ างเจดีย์อิฐสูงประมาณ 66 ฟุตครอบไว้ ภายนอก จากนันก็มีการสร้ างเจดีย์ครอบองค์เดิมใน ้ รัชสมัยของกษัตริ ย์ต่าง ๆ รวมถึ ง 7 ครังด้ วยกัน โดยในสมัยพระนางเชงสอบูแห่งกรุงหงสาวดีก็ได้ ทรง ้ บริจาคทองคาถึง 40 กิโลกรัม ซึ่งเท่ากับน ้าหนักของพระองค์ในการก่อสร้ างพระเจดีย์ที่มีรูปร่างเหมือนใน ปั จจุบนเป็ นครังแรก ส่วนพระเจ้ าธรรมเจดีย์ซึ่งครองราชย์ต่อจากพระนางเชงสอบู ก็ได้ บริ จาคทองในการ ั ้ ก่อสร้ างเพิ่มเติมเป็ นน ้าหนักเท่ากับน ้าหนักของพระองค์และพระมเหสีรวมกันด้ วย ทังยังได้ ทรงสร้ างจารึก ้ เล่าประวัติของพระเจดีย์ชเวดากองเป็ นภาษาพม่า มอญและบาลีไว้ ด้วย4 จากนัน ปี พ.ศ. 2317 พระเจ้ ามังระ หรือพระเจ้ าช้ างเผือก แห่งกรุงอังวะ (กษัตริย์พระองค์ที่ 3 ของ ้ ราชวงศ์อลองพญาของพม่า) ได้ ตอเติมยอดฉัตรเจดีย์ขึ ้นใหม่ โดยถอดฉัตรเดิมที่มอญเคยทา เป็ นแบบพม่า ่ ขึ ้นไปแทน ซึ่งประกอบด้ วยระฆังเงิน ระฆังทองเหลือง ระฆังทองคาโดยระฆังแต่ละใบจะจารึกชื่อผู้บริ จาค ไว้ ด้วย ส่วนระฆังทองคาบางใบจะมีเพชรประดับเพชรด้ วยระฆังทังหมดนี ้ติดไว้ ที่ฉตร ทาให้ เจดี ย์ชเวดากอง ้ ั มีความสูงเท่ากับในปั จจุบน แต่ฉตรนี ้ก็ถกเปลี่ยนใหม่อีกครังในรัชสมัยของพระเจ้ ามินดงใน พ.ศ. 2414 ั ั ู ้ ปั จจุบันพระเจดีย์ชเวดากองมีความสูงประมาณ 109 เมตร รอบฐานเจดีย์มีเจดีย์องค์เล็กๆ ราย ล้ อมอีก 65 องค์ ซึ่งก็คือ ในภาพถ่ายที่ 2 ของโปสการ์ดนีนั่นเอง และเจดีย์องค์ใหญ่อีก 4 องค์ รอบเจดีย์มี ้ พระประจาวันเกิดประดิษฐานทังแปดทิศตามหลักนพเคราะห์ คือ พระประจาวันจันทร์ วันอังคาร วันพุธ ้ (เช้ า) วันพุธ(เย็น) วันพฤหัสบดี วันศุกร์ วันเสาร์ และวันอาทิตย์ ใครเกิดวันไหนก็ไปสรงนาพระประจาวัน ้ เกิดของตน 4 กิติมา อมรทัต. พมา (สหภาพเมียนมาร์ ). พิมพ์ครังที่ 2. กรุงเทพฯ: บริ ษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสู่โลก ้ กว้ าง จากัด, 2543.
  • 7. เจดีย์ชเวดากองนันยึดหลักไตรภูมิวา องค์เจดีย์ชเวดากอง คือ ศูนย์กลางแห่งจักรวาลล้ อมรอบด้ วย ้ ่ ภูเขาสัตบริภณฑ์ (เจดีย์องค์เล็ก) และมหานทีสีทนดร ทาให้ นึกถึงวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามที่สร้ างตาม ั ั คติความเชื่อไตรภูมิเหมือนกัน โดยรอบจักรวาลแบ่งเป็ น 8 ทิศ แทนวันในหนึ่งสัปดาห์ (วัน 8 คือ วันพุธ (เย็น)) นอกจากนี ้ยังมีสตว์สญลักษณ์แทนดาวพระเคราะห์ดวงต่างๆ ตามตาราโหรศาสตร์ด้วย5 ั ั ซึ่งจากพัฒนาการทางประวัติศาสตร์การเมืองของพม่า ส่งผลให้ ความภูมิใจในพระมหาเจดีย์ชเวดา กองคงมิได้ มาจากศรัทธาหรือความรู้ในหลักสุนทรียศาสตร์เท่านัน แต่เป็ นการชื่นชมในศักดิ์ศรีของประเทศ ้ ที่ได้ ผานการต่อสู้เพื่อเอกราชและอธิปไตยมาแล้ วอย่างโชกโชน ่ ลักษณะการกอสร้ าง เมื่อกล่าวถึงลักษณะงานสถาปั ตยกรรมของพระมหาเจดีย์ชเวดากองจะพบว่า มีลกษณะสาคัญ ั ของระบบจักรวาลพุทธ – ฮินดูสอดคล้ องอยู่6 ทังเจดีย์และวิหารล้ วนเป็ นศูนย์กลางของกิจกรรมต่างๆ ทาง ้ สังคมวัฒนธรรม 5 Catfishae. โ ป ส ก า ร์ ด เ ล า เ รื่ อ ง ต อ น ที่ 2. ( ร ะ บ บ ออ น ไ ล น์ ) แ ห ล่ ง ที่ ม า http://www.oknation.net/blog/print.php?id=540423 (1 ธันวาคม 2552) 6 อันประกอบขึ ้นจากการรวมตัวของธาตุ ซึ่งจักรวาลที่เราอยู่อาศัยมิใช่มีเพียงจักรวาลเดียวเท่านัน แต่ยังมี ้ จักรวาลนับไม่ถ้วน ที่เรียกว่า อนันตจักรวาล และใน จักรวาลที่มากมายนัน จะมีองค์ประกอบที่เหมือนกัน ้ ทุกประการ จักรวาลเป็ นที่อยู่อาศัยของสัตวโลกทัง หยาบและละเอียดจานวนมาก ที่เรามองเห็นและมองไม่ ้ เห็น มีอยู่ถึง 31 ภูมิด้วยกัน แต่ละภพภูมิมีความ เป็ นอยู่ที่แตกต่างกัน ตามลักษณะบุญและบาปที่เกิดจาก การกระทาของตนในครังเป็ นมนุษย์ และมนุสสภูมิ เป็ นศูนย์กลางของการทาความดีและความชัว โดยมีภพ ้ ่ ภูมิอื่น เป็ นผลรองรับการทาบุญและบาปของมนุษย์
  • 8. ปลายยอดสถูปประดับด้ วยเพชร 5,448 เม็ด ทับทิม นิล และบุษราคัมอีก 2,317 เม็ด มีมรกตเม็ดเขื่องอยู่ตรง กลาง เพื่อรับลาแสงแรกและลาแสงสุดท้ ายของดวงอาทิตย์ ทั ้งหมดนี ้ประดับอยู่ด้านบนเหนือฉัตรขนาด 10 เมตร ซึงสร้ าง ่ ขึ ้นบนไม้ ห้ มทองเจ็ดเส้ น ประดับด้ วยกระดิ่งทองคา 1,065 ลูก และกระดิ่งเงิน 420 ลูก ุ พ ร ะ เ จ ดี ย์ ช เ ว ด า ก อ ง เ ป็ น เ จ ดี ย์ คู่ บ้ า น คู่ เ มื อ ง ข อ ง ช า ว พ ม่ า ค า ว่ า ช เ ว (Shwe) หมายถึ ง ทองค า ส่วน ดากอง มาจากคาว่า Dagon หรื อ ตะเกิ ง ซึ่งเป็ นนามเดิมของนครย่ าง กุ้ง “ชเวดากอง” แปลว่า “เจดีย์ทองแห่งเมืองดากอง” ได้ รับการบูรณปฏิสงขรณ์มาหลายครังด้ วยกัน ราช ั ้ ประเพณี ของกษัต ริ ย์มอญ และพม่า เมื่อจะขึ ้นครองราชย์ จะต้ องท านุบารุงบูรณะองค์พระเจดีย์ และมี บางพระองค์ถวายทองคาเท่ากับ หรือ มากกว่าน ้าหนักของพระองค์ เพื่อนามาห่อหุ้มองค์มหาเจดีย์ทงองค์ ั้ ส่วนเรือนยอดประดับด้ วยเพชร 5,448 เม็ด รวมทังทับทิม นิล และบุษราคัมอีก 2,317 เม็ด และที่ปลายยอด ้ ประดับด้ วย เพชรเม็ดที่ใหญ่ที่สด ขนาด 72 กระรัต ุ ปั จจุบนพระเจดีย์มีความสูง 326 ฟุต เส้ นรอบวง 1,420 ฟุต สูงกว่าระดับน ้าทะเล 190 ฟุต ประดับ ั ด้ วยแผ่นทองคา 4 หมื่นแผ่น รวมนาหนักทอง 8 ตัน สาหรับฉัตรซึ่งครอบยอดเจดีย์ ก็มีการซ่อมแซมหรื อ ้ สร้ างขึ ้นใหม่มาเป็ นระยะๆ ฉัตรเก่าสร้ างในสมัยพระเจ้ ามิน ดงในปี ค.ศ. 1871 สูง 33 ฟุต เส้ นผ่าศูนย์กลาง 18 ฟุต ขณะนี ้ก็ยังตังไว้ ให้ ประชาชนได้ ชมอยู่ ครังล่าสุดได้ มีการสร้ างฉัตรขึ ้นใหม่เมื่อ 8 ปี ที่ผ่านมานีเ้ อง ้ ้ โดยประดับเพชรพลอยรวมถึง 4,351 เม็ดรวม น ้าหนัก 2,000 กะรัต เพชรเม็ดใหญ่ที่สดบนยอดฉัตรมีฐาน ุ กว้ าง 2 ฟุต ยาว 1 ฟุต 10 นิ ้ว และหนัก 76 กะรัต นอกจากนี ้ พระเจดีย์ชเวดากองก็ยังมีวตถุที่มีคณค่าทาง ั ุ ศาสนา ศิลปะ ประวัติศาสตร์ และอื่น ๆ อีกมากมาย เช่น ระฆัง ที่พระเจ้ าสิงคุ (Singhu) ทรงสร้ างไว้ เมื่อปี ค.ศ. 1778 หล่อด้ วยปั ญจโลหะ คือทอง เงิน ทองแดง ตะกั่วและสังกะสี สูง 8 ฟุต หนัก 23 ตัน ในปี ค.ศ. 1824 พม่าได้ ทาสงครามกับอังกฤษเป็ นครังแรกและอังกฤษได้ ยึดเจดีย์ชเวดากองได้ และได้ ขนทรัพย์สิน ้ แก้ วแหวนเงินทองไปหลายอย่าง รวมทังได้ คิดที่จะขนย้ ายระฆังใบนีกลับไปอังกฤษด้ วย แต่ระหว่างการ ้ ้
  • 9. เดินทางเรือที่ขนระฆังจมลงที่แม่น ้าย่างกุ้ง ต่อมาพม่าจึงทาการกู้ระฆังใบนี ้ด้ วยตนเองและนามาติดตังไว้ ที่ ้ เจดีย์ชเวดากองได้ เช่นเดิม ซึ่งเป็ นที่ภาคภูมิใจของประชาชนพม่าโดยทัวไปมาจนทุกวันนี ้นอกจากนันก็ยงมี ่ ้ ั พระพุทธรูปสลักจากหยกทังก้ อน ซึ่งได้ มาจากรัฐคะฉิ่นในปี ค.ศ. 1999 ในโอกาสที่ได้ สร้ างฉัตรใหม่ และยัง ้ มีต้นพระศรีมหาโพธิ์ซึ่งได้ นาเมล็ดมาปลูกจากพุทธคยาเมื่อ 79 ปี ก่อน และของมีคาอื่น ๆ อีกมากมาย7 ่ ซึ่ง การดูแลรักษาเจดีย์ ช เวดากอง ในทุก ๆ 50ปี จะน ายอดฉัตรของพระเจดีย์ ลงมาบูรณะ และ อนุญาตให้ ประชาชน นาเครื่องสักการะ คือ เครื่องประดับอัญมณี แก้ ว แหวน เงินทอง เพชร นิล จินดา มา ถวายเป็ นพุทธบูชา เพื่อขึ ้นติดไว้ บนยอดฉัตรของพระเจดีย์ การสักการะพระเจดีย์ การสักการะพระเจดีย์ชเวดากอง มี 2 แบบ คือ แบบสามัญและแบบวิสามัญ 1. แบบสามัญ โดยการถือเครื่องสักการะขึ ้นไปยังวิหาร จากนันก็จดธูปเทียนถวายเครื่องสักการะกราบไหว้ สวดคา ้ ุ บูชารัตนตรัย แล้ วเดินประทักษิ ณพระเจดีย์ชเวดากอง (หมายถึง หันด้ านขวาเข้ าหาองค์พระเจดีย์ โดยมาก จะเดินเวียนรอบพระเจดีย์ 3 รอบ) เป็ นอับเสร็จพิธี 2. แบบวิสามัญ เกี่ยวเนื่องกับเทวดานพเคราะห์ คนพม่านับถือตารานพเคราะห์อย่างเดียวกับไทยเรา เหมือนเช่นให้ ชื่อคนก็ขึ ้นด้ วยตัวอักษรตามวรรคประจาวันเป็ นต้ น แต่พม่าจะนับถือเทวดานพเคราะห์ยิ่งกว่าไทยเสียอีก ที่ ลานพระเจดีย์ชเวดากอง (และพระมหาธาตุองค์อื่นๆก็เหมือนกัน) ทาหลักปายมีรูปเทวดากับสัตว์พาหนะ ้ และมีชื่อบอกนามปั กประจาไว้ ตามทิศทัง 8 ได้ แก่ ้ วันอาทิตย์ - ครุฑ อยู่ที่ทิศตะวันออกเฉียง เหนือของลานเจดีย์ วันจันทร์ - เสือ อยู่ทิศตะวันออก วันอังคาร - สิงห์ อยู่ทิศตะวันออกเฉียงใต้ 7 พวงนิล คาปั งสุ์. พมา. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสูโลกกว้ าง จากัด, 2546. ่
  • 10. วันพุธ (เช้ า) - ช้ างงา อยู่ทิศใต้ วันพุธ(กลางคืน) - ช้ างไม่มีงา อยู่ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ วันพฤหัสบดี - หนู อยู่ทิศตะวันตก วันศุกร์ - หนูตะเภา (บางคนเชื่อว่าเป็ น กระต่ายหูสน) อยู่ทิศเหนือ ั้ วันเสาร์ - พญานาค อยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ดังรูปจะเห็นว่า ทางเข้ าพระเจดีย์ชเวดากองจะมีทง 4 ทิศ แต่ทางเข้ าใหญ่คือทางทิศใต้ ซึ่งมีสิงห์นง ั้ ั่ สองตัวสูง 30 เมตรเฝาทางเข้ าอยู่ เมื่อเข้ าไปถึงที่ทาการของคณะกรรมการบริหารชเวดากอง ก็จะได้ รับการ ้ เชื ้อเชิญให้ เข้ าไปในห้ องเพื่อถอดรองเท้ าแล้ วผู้แทนคณะกรรมการเจดีย์ฯซึ่งจะทาหน้ าที่เป็ นมัคคุเทศก์ก็จะ นาไปขึ ้นลิฟต์ซึ่งจะขึ ้นถึงลานใหญ่ของพระเจดีย์เลย ขณะที่ประชาชนต้ องขึ ้นบันไดเลื่อนไกลหน่อย เมื่อขึ ้น ไปถึงลาน มัคคุเทศก์ก็จะนาไปที่ศาลาเพื่อจุดธูปเทียนไหว้ พระ ถวายดอก ไม้ และจตุปัจจัยบารุงเจดีย์ แล้ ว เซ็นหนังสือในสมุดเยี่ยม หลังจาก นันก็เดินพาไปดูของหรือสถานที่สาคัญต่าง ๆ รอบลาน ซึ่งจะมีวิหารใหญ่ ้ 4 ทิศซึ่งประดิษฐานพระพุทธรูปของพระพุทธเจ้ าที่มีมาแล้ วทัง 4 พระองค์คือ พระกักกุสนโธ พระโกนาคม ้ ั พระกัสสปะ และพระโคตมะองค์ปัจจุบนให้ ประชาชนได้ กราบไหว้ ทาบุญด้ วยรวมถึงการไปตีระฆังสิงคุที่เล่า ั มาแล้ วด้ วย 3 ครัง นอกจากนันก็มีการหยุดที่ลานอธิษฐานซึ่งเชื่อกันว่าศักดิสิทธิ์มาก และเท่าที่ทราบก็เคย ้ ้ ์ มีคนใหญ่คนโตของไทยไปตังจิตอธิษฐานจนประสบความสาเร็จมาหลายท่านแล้ ว และก็ยงมีอีกจุดหนึ่งบน ้ ั ลานซึ่งเขาท าจุด ให้ ยืน ไว้ ซึ่งจะท าให้ มองเห็น ประกายเพชรบนยอดฉัตรได้ ด้วยตาเปล่า ที่ น่าสนใจอีก ประการหนึ่งก็คือจะมีพระพุทธรูปและสัตว์สญลักษณ์ประจาวันเกิด ตังอยู่รอบ ๆ ลานเป็ นคู่ ๆ ด้ วย โดยเชื่อ ั ้
  • 11. กันว่าการสรงน ้าพระพุทธรูปและสัตว์เหล่านี ้ จะสร้ างความบริสทธิ์และความสุขความเจริญแก่ผ้ สรงน ้า โดย ุ ู จะรดน ้าด้ วยขันเล็ก ๆ ที่มีจดเตรียมไว้ ให้ เป็ นจานวนเท่าอายุ +1 แต่สาหรับ คนแก่ ๆ ที่อายุ 60-70 ไปแล้ วก็ ั อาจจะย่นย่อลง เหลือ 5 ขันก็ได้ ซึ่งหมายถึงพระรัตนตรัยรวมกับบิดามารดานันเอง ่ การกราบไหว้ พระธาตุเ จดี ย์ ชเวดากองในทุก ๆเช้ า เริ่ มต้ น วันสว่างตังแต่เ วลาตี 4 ทังพระภิก ษุ ้ ้ สามเณร แม่ชี และชาวพม่า จะเดินทางออกจากบ้ าน มาสวดมนต์ นั่ งสมาธิ (Meditation) บูชาพระเจดีย์ และช่วยกันปั ดกวาด ทาความสะอาดพระเจดีย์ ซึ่งคนจะมากันมาก ในช่วงเช้ ามืดก่อนไปทางาน กับช่วง เย็นเวลาหลังเลิกงานตังแต่ 6โมงเย็นจนถึงเวลา 3ทุ่ม ชาวพม่าจะมาสวดมนต์ นั่งสมาธิ เหมือนช่วงเช้ ามืด ้ พอเวลาประมาณ 1ทุ่ม จะมีหนุ่มสาวชาวพม่าจานวนมาก มาช่วยกันกวาดถู ทาความสะอาดพระเจดีย์ กวาดกันเป็ นทิวแถว อย่างพร้ อมเพรียงเหมือนที่วดพระธรรมกายของเรา เวลาของการทาความสะอาดพระ ั เจดีย์จะเป็ นเวลาแห่งความสนุกสนาน ที่ทกคนรอคอยจะเก็บบุญสุดท้ ายก่อนกลับเข้ าบ้ านเพื่อพักผ่อน โดย ุ ทุกคนจะเอาไม้ กวาดและผ้ ามาเอง ทากันอย่างพร้ อมเพรียง เมื่อถึงเวลานอน ชาวพม่าจะหันศีรษะไปทาง ทิศที่เจดีย์ชเวดากองตังอยู่ เพื่อทาความเคารพและบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ้ และสิ่งที่เป็ นเอกลักษณ์ เป็ นวัฒนธรรมชาวพุทธของชาวพม่า ที่นกท่องเที่ยวทุกคนต้ องปฏิบติ โดย ั ั ไม่เลือกชัน วรรณะ หรื อเผ่าพันธุ์ คือ ประเพณีการถอดรองเท้ าเข้ าวัด รวมถึงถุงเท้ า และถุงน่องก็ห้ามใส่ ้ ชาวพม่าจะถือเคร่งครัดมาก ไม่วาเด็ก ผู้ใหญ่ หากเป็ นนักท่องเที่ยวเผลอสวมรองเท้ าเดินเข้ าเขตวัด เขาจะ ่ ร้ องทัก ตักเตือน ให้ ถอดทันที โดยไม่ดดาย เพราะถือว่า เป็ นหน้ าที่ของเขาที่จะรักษาสถานที่ศกดิ์สิทธิ์ มิให้ ู ั ผู้ใดล่วงละเมิดได้ 8 ดังนันจะเห็นได้ วาพระเจดีย์ชเวดากอง ศาสนสถานอันยิ่งใหญ่สาคัญ และมีชื่อเสียงมากที่สดใน ้ ่ ุ ประเทศพม่า เป็ นสิ่งศักดิสิทธิ์ที่ชาวพม่านับถือสูงสุดเป็ นศูนย์รวมจิตใจของชาวพม่าทุกคน ที่แม้ จะอยู่ไกล ์ แสนไกลขนาดไหน การเดินทางจะลาบากยากเข็ญเพียงไรจะต้ องเดินทางมานมัสการองค์เจดีย์ชเวดากอง ให้ ได้ สกครังหนึ่งในชีวิต ั ้ 8 ที วี ช่ อ ง คุ ณ ธ ร ร ม . เ จ ดี ย์ ช เ ว ด า ก อ ง . ( ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ) แ ห ล่ ง ที่ ม า http://www.dmc.tv/pages/latest_update/Myanmar_Buddhism_2.html (14 พ.ย. 2550)
  • 12. ความเชื่อพระธาตุชเวดากองและปี นักษัตรในมิติตางๆ พระธาตุชเวดากอง เป็ นแหล่งสถานที่สาคัญแห่งหนึ่งที่รวบรวมพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชนชาว พม่าที่มีต่อพระพุทธศาสานา ซึ่งความเชื่อนี ทาให้ ชาวพม่ายังคงอนุรักษ์ ขนบธรรมเนียมทางพุทธศาสนา ้ เอาไว้ อย่ างเหนียวแน่น และมีศ รัทธาในพุทธศาสนาสูงในแต่ละวัน ไม่ว่าจะเป็ นวัน ธรรมดา วันหยุดสุด สัปดาห์ วันสาคัญทางศาสนา ผู้คนจะหลังไหลไปกราบไหว้ ทาบุญที่วดต่างๆ ไม่ขาดสาย ดังนันคติความ ่ ั ้ เชื่อในด้ านพระพุทธศาสนา จึงเป็ นส่วนสาคัญที่ทาให้ พระธาตุเจดีย์ชเวดากองเป็ นศูนย์รวมความศรัทธาใน ด้ านต่างๆ ไม่วาจะเป็ นทางด้ านสังคม การเมือง เศรษฐกิจ เป็ นต้ น ่ ในด้ านการเมืองพม่าหรือสหภาพเมียนมาร์ เป็ นประเทศสังคมนิยม แต่ความเชื่อในทางศาสนาและ ประเพณีพิธีกรรมยังคงมีความหมายและความสาคัญอย่างมาก ศาสนาพุทธกับประชาชนพม่านัน ดูจะมี ้ ส่วนเกี่ยวข้ อง ช่วยเหลือกันอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องกันมาเป็ นเวลายาวนานตังแต่อดีต แม้ การสนับสนุน ้ จะไม่ได้ มาจากกษัตริย์ดงเช่นในอดีต แต่ศาสนาพุทธก็จาเป็ นต้ องดารงอยู่ เพื่อทาหน้ าที่ที่เป็ นมากกว่าสิ่ง ั เคารพและความเชื่อที่สงต่อมาจนถึงปั จจุบน ่ ั ในสังคมพม่า พระพุทธศาสนาและวัดเองยังคงมีความสาคัญต่อวิถีชีวิตอับสงบสุขของพม่าอย่าง เห็นได้ ชด กล่าวได้ วา วัด เป็ นศูนย์กลางของชุมชน เป็ นสถานที่โอ่โถงและงดงาม ขณะที่ความเป็ นอยู่ของ ั ่ ชาวพม่าเองอยู่ในสภาพซอมซ่อยากจนน่าเวทนามาก วัดพม่าโดยมากสร้ างประณีตด้ วยศิลปกรรมปูนปั น ้ ไม้ แกะสลัก และมีบริเวณวัดที่สะอาดร่มรื่ น ผู้คนทังเด็ก ผู้ใหญ่ และคนแก่จะพากันมากราบไหว้ พระและ ้ ทาบุญเป็ นประจา ส่วนในด้ านเศรษฐกิจนัน พระมหาเจดีย์ชเวดากอง นอกจากจะเป็ นศูนย์รวมศรัทธาของชาวพม่า ้ แล้ ว ยังเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่สาคัญแห่งหนึ่งที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวจากทุกมุมโลกต้ องมาเยือนพม่า จนเป็ นที่รับรู้กนว่าใครมาถึงพม่าแล้ วไม่ได้ มาชมหรื อนมัสการมหาเจดีย์ชเวดากองก็เหมือนมาไม่ถึงพม่า ั นอกจากนีเ้ ราพบว่าความสาคัญของพระพุทธศาสนานันเชื่อมโยงกับพระธาตุในปั จจุบนได้ ดงนี ้ ้ ั ั 1. เป็ นสถาบันในการสงเสริม สนับสนุนให้ กับเด็ก และผู้ยากไร้ ได้ เรียนและอาศัย เด็กจานวนมากทังหญิ งและชายที่กาพร้ าและยากจนจานวนมากถูกส่งตัวมายังวัด และวัดได้ ให้ ้ การสนับสนุนให้ เด็กที่ยากจนและขาดโอกาสทางการศึกษาได้ เข้ ามาเรียนฟรี พร้ อมทังมีอาหารและที่อยู่ได้ ้
  • 13. พักอาศัยอีกด้ วย ตัวอย่างวัดดังกล่าวมีชื่อว่า วัดผองดอว์อู ซึ่งตัววัดจะมีการรับเด็กจากทั่วทังประเทศพม่า ้ มาเลี ้ยงดู และให้ การศึกษาเพื่อที่จะให้ เด็กมีชีวิตในอนาคตที่ดี 2. เป็ นที่พ่งทางใจให้ กับการดารงชีวต ึ ิ พระพุทธรูป และสิ่งเคารพอันมีความสาคัญต่อชาวพม่าทั่วไป การแขวนผ้ าสี การประดับไฟ หรื อ การจุดธูปเทียนกราบไหว้ สิ่งอันเป็ นสัญลักษณ์ของความศักดิสิทธิ์ ได้ กลายเป็ นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของชาว ์ พม่าไปซะแล้ ว ในบริเวณรอบ ๆ วัด เราจะพบเห็นการเข้ ามาขอพร หรือการรดนาประจาวันเกิดตลอดเวลา ้ จากการสังเกตช่วงเวลาที่อยู่ในเจดีย์ชเวดากอง บริเวณที่มีการสรงน ้าพระประจาวันเกิดนัน ได้ พบเห็นผู้คน ้ เข้ ามาสรงน ้าตลอดเวลา 3. เป็ นพลังในการขับเคลื่อนทางสังคม จากเหตุการณ์ที่ผานมาของพม่า จะเห็นว่าการรวมตัวของประชาชนชาวพม่านัน ย่อมก่อร่างสร้ าง ่ ้ ตัวจากกลุ่มพระสงฆ์ที่มีความคิดในการร่วมเปลี่ยนแปลงสังคม ให้ เป็ นไปในลัก ษณะของประชาธิปไตย ร่วมกับนางออง ซาน ซูจี ศาสนาพุทธได้ ใช้ ความเป็ นผู้ร่วมศรัทธาในสิ่งเดียวกันในการติดต่อและสร้ างพลัง อันยิ่งใหญ่ให้ เกิดขึ ้นในสังคมที่มีความแตกต่างเป็ นอย่างมากทางชาติพันธ์ให้ เกิดขึ ้นได้ พระสงฆ์ไม่ได้ มี หน้ าที่ในการศึกษาพระธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้ าเพียงอย่างเดียว แต่พระสงฆ์ในประเทศพม่านัน ยังมี ้ ความจ าเป็ นที่ ต้ องศึก ษาทางโลกและด าเนิ น การเกี่ ย วกับ ทางโลกโดยเป็ น เสมือนครู ที่ เ ปิ ดกว้ างทาง ความคิดให้ แก่ประชาชน อย่างที่ ได้ กล่าวไว้ ในข้ อแรกว่า ศาสนาเป็ นสถานบันที่ส่งเสริ มให้ ผ้ ยากไร้ และ ู ยากจนได้ เข้ ามาอยู่พก อาศัย และเรียนหนังสือ ทาให้ ความสัมพันธ์ของประชาชนกับศาสนามีความผูกพัน ั กันยิ่งกว่าสถาบันอื่น ๆ ในสังคม การที่พระสงฆ์จะใช้ ศาสนาในการดึงผู้คนเข้ ามาร่วมกิจกรรมจึงเป็ นการ ง่ายด้ วย ความคุ้นเคย 4. เป็ นพลังในการลดความขัดแย้ งที่เกิดขึนในสังคม ้ ศาสนาพุทธได้ มีบทบาทในการเจรจาให้ เกิดสันติภาพขึ ้นภายในประเทศ โดยการนาหลักคาสอน ของศาสนาพุทธเข้ ามาเกี่ยวข้ องกับการยุติปัญหาความขัดแย้ ง 9ที่ได้ แสดงให้ เห็นว่าเรื่ องของบาปและบุญ 9 นฤมล ธีรวัฒน์ และคณะ. มองพมาผานชเวดากอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โอ.เอส.พรินติ ้งเฮ้ าส์, 2551. ้
  • 14. ของศาสนาพุทธได้ ทาให้ การเจรจาตกลงในการยุติปัญหาเกิดขึ ้นได้ เพราะผลของปั จจุบันจะเป็ นเช่นไร ย่อมขึ ้นอยู่กบบาปและบุญที่ ทาไว้ ในอดีต การอ้ างเหตุผลทางศาสนาเรื่ องนีนน ย่อมทาให้ กลุ่มต่าง ๆ ใน ั ้ ั้ พม่าเข้ าใจได้ ว่า การที่ คนเหล่านันอันหมายถึงทหารผู้มีอานาจเผด็จการอยู่นน ได้ ครองทรัพย์สินต่าง ๆ ้ ั้ ภายในประเทศและมีอานาจมากกว่าพวกเขา เป็ นผลมาจากบุญที่พวกเขาได้ กระทาไว้ ในอดีต ฉะนันการจะ ้ รอให้ ผลบุญหมดจึงเป็ นเรื่องที่ควรกระทา นันคือการรอจนกว่ารัฐบาลทหารจะหมดบุญกุศล และพวกเขาจึง ้ สามารถที่จะรวมประเทศ หรือสามารถเรียกร้ องสิทธิอนควรจะมีตอกลุมของตนเองได้ ั ่ ่ 5. เป็ นวัตถุเพื่อการค้ าขายให้ กับนักทองเที่ยว การเข้ ามายังพม่าในสถานที่ท่องเที่ยวทุกแห่งของประเทศพม่า จะพบเห็นสิ่งของที่ระลึกในรูปแบบ ของพระพุทธรูป เศียร์พระ หรือภาพวาดที่เกี่ยวกับศาสนาในรูปแบบต่าง ๆ คงไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร สาหรับ การเปลี่ยนวัฒนธรรมที่พวกเขานับถือและเห็นว่ามีค่าในการนาไปเคารพบูชาที่บ้านสาหรับนักท่องเที่ยว เป็ นอีกหนึ่งกระบวนการที่เกิดจากการเปิ ดการท่องเที่ยวที่กว้ างขึ ้นของประเทศพม่า นักท่องเที่ยวที่หลังไหล ่ เข้ ามาอย่างต่อเนื่องตังแต่ช่วงที่ค วามสงบเริ่ มเกิดขึ ้นในพม่า เป็ นจุดที่ท าให้ ประชาชน หรื อหมู่บ้านที่ มี ้ บริ เ วณใกล้ เ คี ย ง หยิ บ เอาวัฒนธรรมของเขา มาแปรรู ป เป็ นสิน ค้ า หรื อ ที่ เ ราเรี ย กกัน ว่า “การกลาย วัฒนธรรมให้ เป็ นสินค้ า” ดังนัน กล่าวโดยสรุป ด้ วยความศรัทธาอันเปี่ ยมล้ นของชาวเมียนมาร์ (พม่า) ที่มีต่อพระ ้ เจดีย์ชเวดากองนี ้ เราจะเห็นได้ ชัดจากการที่มีประชากรมากราบไหว้ สกการะบูชา เป็ นประจ าทุกวันทุก ั ชัวโมง หรื อทุกๆนาที หรื ออาจเรี ยกได้ ว่า ตลอด 24 ่ 1,440 จะ มา บ ไหว้ พระเจดีย์ตลอดเวลาไม่มีขาด ไม่ว่าจะเป็ นที่ลานพระเจดีย์ หรื อเวลาไหนก็จะพบคนมากราบไหว้ พระ เจดีย์เวลานัน ทังกลางวันและกลางคืน อีกทังความสัมพันธ์ของคนพม่าชนบทและเมืองยังคงเป็ นเรื่ องทาง ้ ้ ้ ศาสนาและประเพณี โดยเฉพาะอย่ างยิ่งพระธาตุช เวดากอง ที่ สะท้ อนให้ เห็นถึงกระบวนการอบรมทาง สังคมและวัฒนธรรมที่ เป็ นไปโดยอัตโนมัติและต่อเนื่องกันมาช้ านานเป็ นสาคัญ เพราะวัดพม่ายังดารง ความศูนย์รวมทางวัฒนธรรมทังทางวัตถุและจิตใจเป็ นอย่างดี แม้ ในปั จจุบันคนพม่าอาจจะพึ่งพารัฐไม่ได้ ้ แต่ก็พึ่งวัดได้
  • 15. เอกสารอ้ างอิง ภาษาไทย กิติมา อมรทัต. พมา (สหภาพเมียนมาร์ ). พิมพ์ครังที่2. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสูโลก ้ ่ กว้ าง จากัด, 2543. พวงนิล คาปั งสุ์. พมา. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์หน้ าต่างสูโลกกว้ าง จากัด, 2546. ่ นฤมล ธีรวัฒน์ และคณะ. มองพมาผานชเวดากอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โอ.เอส.พรินติ ้งเฮ้ าส์, 2551. ้ สุภทรดิศ ดิศกุล. เที่ยวดงเจดีย์ท่ พมาประเทศ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มติชน, 2545. ั ี รายการอ้ างอิงทางอิเลกทรอนิกส์ สุริยา เพลินทรัพย์. พระบรมธาตุ. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา http://student.nu.ac.th/phratad/index.htm (29 สิงหาคม 2545) ร้ อยเรียงเรื่องราว. คติไหว้ พระธาตุประจาปี เกิด. (ระบบออนไลน์). แหล่งที่มา http://www.travelfortoday.com/story_partart.htm (24 พฤษภาคม 2547) Catfishae. โปสการ์ ดเลาเรื่อง ตอนที่ 2. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.oknation.net/blog/print.php?id=540423 (1 ธันวาคม 2552) ทีวีช่องคุณธรรม. เจดีย์ชเวดากอง. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.dmc.tv/pages/latest_update/Myanmar_Buddhism_2.html (14 พ.ย. 2550) Joeeleo. พระมหาธาตุเจดีย์ชเวดากอง Shwedagon. (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://joeeleo.multiply.com/photos/album/60/60# (23 พฤศจิกายน 2551)