Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
SlideShare a Scribd company logo
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 1
เฉลย PAT2 ฟิสิกส์ มีค. 54
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 2
วิธีคิด
จากนิยามความเร่งในขณะใดขณะหนึ่งa =
∆v
∆t
โดยที่ ∆v และ ∆t เป็นความเร็ว และเวลาที่เปลี่ยนไปในช่วง
สั้นๆ
ถ้าอัตราเร็วหรือขนาดของความเร็วกําลังเพิ่มขึ้น ขนาดความเร่งอาจจะคงที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงก็ได้
เช่นในช่วง1 วินาทีมีความเร็วเปลี่ยนเป็น 1 --> 2 --> 3--> 4 m/s ความเร่งจะคงที่เป็น1 m/s2
หรือเป็น 1 --> 2 --> 4 --> 7 m/s ความเร่งจะเพิ่มขึ้นเป็น1 --> 2--> 3 m/s2
หรือเป็น 1 --> 4 --> 6 --> 7 m/s ความเร่งจะลดลงเป็น 3 --> 2--> 1 m/s2
ตอบข้อ4.
โจทย์ข้อนี้ต้องคิดให้ละเอียดนิดหนึ่ง ถ้าดูเผินๆ อาจคิดว่าตอบข้อ1 ซึ่งยังไม่ใช่คําตอบที่ถูกต้องที่สุด การ
เข้าใจนิยามของอัตราเร็วและความเร่งให้ถ่องแท้รวมกับการรู้จักหาเหตุผลมารองรับคําตอบที่เลือก จึงจะทํา
ให้นักเรียนได้คําตอบที่ถูกต้องและมีความมั่นใจว่าทําถูกจริงๆ
การฝึกมากๆ จะทําให้นักเรียนมีทักษะในการคิด และเรียนได้อย่างสนุกอย่าเอาแต่เรียนหรือไปฟังคนอื่นพูด
โดยไม่มีเวลาฝึกคิดด้วยตัวเองเพราะนอกจากจะเสียเวลาแล้วยังไม่เกิดประโยชน์อันใดเลย
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 3
วิธีคิด
พิจารณารูปตามโจทย์ใส่แรงที่กระทํากับวัตถุ(ถุงทราย)
จากกฎการเคลื่อนที่ข้อ2 ของนิวตัน
∑ F = ma
จากรูป จะได้ F – fk = m(0)
∴ F = fk
ข้อ 1. ผิด เพราะ∑ F = ma = 0 N
ข้อ 2. ถูกต้อง fk = F = 2 N
ข้อ 3. ผิด
ข้อ 4. ผิดเพราะ F – fk = 0
ตอบข้อ2.
ข้อนี้มีแรงเนื่องจากนํ้าหนักถุงทราย mg และแรง
ปฏิกิริยาของพื้น N กระทํากับถุงทรายด้วย แต่แรงทั้ง
สองไม่มีผลต่อการวิเคราะห์โจทย์ จึงไม่ต้องนํามาคิด= 2 N
v คงตัว ∴ a = 0
fk
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 4
วิธีคิด
ลูกขนไก่ที่มีมวลเท่ากับวัตถุทรงกลม ลูกขนไก่จะมีปริมาตรมากกว่า
วัตถุทรงกลม และลูกขนไก่มีรูปทรงแตกต่างกันวัตถุทรงกลมมีความหนาแน่นมากกว่าลูกขนไก่ ผลของแรง
ต้านอากาศมีไม่มากนักวัตถุทรงกลมจึงมีเส้นทางการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ส่วนลูกขนไก่มีความ
หนาแน่นน้อยผลของแรงต้านอากาศมีมากลูกขนไก่จึงมีเส้นทางการเคลื่อนที่ไม่เป็นแบบโพรเจกไทล์และ
เคลื่อนที่ไปได้ความสูงและระยะทางตามแนวระดับน้อยกว่าวัตถุทรงกลม
ตอบข้อ 4.
วัตถุทรงกลม ลูกขนไก่
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 5
วิธีคิด
ให้แนวแกนขนานลงมาตามพื้นเอียงเป็นแกนy
ข้อ ก. A ถึงพื้นก่อน B เพราะ (uAy = uA ) > uBy = 0
ข้อ ข. A และ B ถึงพื้นพร้อมกันพราะ uAy = uBy = 0
ข้อ ค. B ถึงพื้นก่อน A เพราะuAy = 0 , uBy = uB sinθ > uAy
ข้อ ง. A และ B ถึงพื้นพร้อมกันเมื่อ uA = uB และ θ = 90°
ตอบข้อ 4.
x
y
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 6
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์
จาก F = ma ถ้า F ลดลงสมํ่าเสมอ ดังนั้น a ลดลงสมํ่าเสมอ (m คงเดิม)
จาก a =
∆v
t
ถ้า a ลดลงสมํ่าเสมอ ดังนั้น
∆v
t
ลดลงสมํ่าเสมอ
พิจารณา
∆v
t
ลดลงสมํ่าเสมอ
ถ้าให้ t = 1 ทุกๆ ช่วงที่ v เปลี่ยน
∆v ลดลงสมํ่าเสมอ เช่น ∆v เป็น 4 → 3 → 2 → 1
จะได้v ดังเช่น 2 → 6 → 9 → 11 → 12 ---(1)
จาก(1) ,จะได้v2
เป็น 22
→ 62
→ 92
→ 112
→ 122
v2
เป็น 4 → 36 → 81 → 121 → 144
พลังงานจลน์ Ek = ½ mv2
เป็น ½ m(4) → ½ m(36) → ½ m(81) → ½ m(121) → ½ m(144)
พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น เป็น (½ m(36) - ½ m(4)) → (½ m(81) - ½ m(36)) → (½ m(121) - ½ m(81)) → (½
m(144) - ½ m(121))
พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น เป็น (½ m(32)) → (½ m(45)) → (½ m(40)) → (½ m(23))
∴ พลังงานจลน์เพิ่มขึ้นด้วยอัตราไม่สมํ่าเสมอ
ตอบข้อ 2.
a
F
m
Ek = ½ mv2
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 7
วิธีคิด
ความเร็วปลายของวัตถุในของเหลว เป็นความเร็วสูงสุดที่วัตถุเคลื่อนที่มีขนาดคงที่ค่าหนึ่งเสมอดังนั้นไม่ว่า
จะปล่อย หรือขว้างวัตถุลงมา ความเร็วปลายของวัตถุยังคงเท่ากัน
ความเร็วปลายขึ้นอยู่กับค่าความหนืด หนืดมากความเร็วปลายน้อยและความหนืดขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ โดย
ความหนืดจะลดลงถ้าอุณหภูมิของเหลวเพิ่มขึ้น
ตอบข้อ 3.
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์ใส่แรง และปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
จากรูป
mg
ในอากาศ
T1 = N1
mg FB
T2 = N2
ในนํ้า
𝜌𝜌
𝜌𝜌นํ้า
𝜌𝜌 = ?𝜌𝜌นํ้า
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 8
ในอากาศ T1 = mg = N1
ในนํ้า T2 + FB = mg
N2 + FB = N1
N2 + 𝜌𝜌นํ้าVจมg = N1 (FB = นํ้าหนักนํ้าที่มีปริมาตรเท่าวัตถุส่วนที่จม= mนํ้าg = 𝜌𝜌นํ้าVจมg)
N2 + 𝜌𝜌นํ้า
m
ρ
g = N1
N2 + 𝜌𝜌นํ้า
N1
ρ
= N1 (mg = N1)
𝜌𝜌นํ้า
N1
ρ
= N1 – N2
ρ = ( N1
N1− N2
) 𝜌𝜌นํ้า
ตอบข้อ 1.
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
คลื่นเสียงเคลื่อนที่จากนักเรียนไปกระทบหน้าผาจะใช้เวลาครึ่งหนึ่งของเวลาทั้งหมดจนได้รับเสียงสะท้อน
หาอัตราเร็วเสียงจาก v =
s
t
(เสียงเคลื่อนที่แนวตรงด้วยอัตราเร็วคงตัว)
v =
102
0.3
(t =
0.6
2
= 0.3 s)
v = 340 m/s
หาความถี่เสียง f
จาก v = f λ
λ = 0.5 m f = ?
tทั้งหมด = 0.6 s
s = 102 m
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 9
340 = f(0.5)
∴ f = 680 Hz
ตอบข้อ 4.
วิธีคิด
ข้อนี้ใช้กฎของเทอร์ริเซลลี และหลักของโพรเจกไทล์รวมกัน คล้ายกับแนวข้อสอบข้อ85 ตค.52 ในหนังสือ
ฟิสิกส์ PAT2ของครู
พิจารณารูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
วิธีพิจารณานํ้าพุ่งไปไกล ใช้หลักโพรเจกไทล์ว่าsx = ux t
จากสูตรจะเห็นว่าถ้าความเร็วต้นของนํ้าขณะพุ่งออกจากรูux มีค่ามาก ค่าsx ก็น่าจะมากตาม
แต่ยังมี t อีกตัวที่มีผลต่อsx ด้วย
ค่า ux จะมากเมื่อรูเจาะอยู่ตํ่าใกล้ๆ ก้นภาชนะ ส่วนค่าt จะมากเมื่อรูเจาะอยู่สูงกว่าก้นภาชนะมากๆ แล้วมัน
ควรจะอยู่ตรงไหนดีหละนํ้าจึงจะพุ่งไปไกลสุด????..
h2
h1
ux
sx
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 10
เมี่อวาดรูปดู ให้ h1 เป็นความสูงจากผิวนํ้าถึงรูเจาะ และh2 เป็นความสูงจากรูเจาะถึงก้นภาชนะ
โดยที่ h1+ h2 = H
เราสามารถหาความเร็วของนํ้าขณะพุ่งออกจากรูux จากกฏของเทอร์ริเซลลี ได้ux = �2gh1
และหาเวลา t จากหลักของโพรเจกไทล์h2 = 0 + ½ gt2
ได้ t = �
2h2
g
ดังนั้น sx = ux t = �2gh1 �
2h2
g
sx = 2 �h1h2
จากสมการนี้จะเห็นว่าsx ขึ้นอยู่กับค่าh1 คูณกับh2
ลองแทนค่าในคําตอบที่โจทย์ให้มา โดยที่ h1+ h2 = H
ข้อ 1. h1h2 = (7/8)H (1/8)H = (7/64)H2
ข้อ 2. h1h2 = (3/4)H (1/4)H = (3/16)H2
ข้อ 3. h1h2 = (1/2)H (1/2)H = (1/4)H2
มีค่ามากที่สุด เป็นคําตอบที่ถูกต้อง
ตอบข้อ 3.
วิธีคิด
พิจารณารูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
จากกฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์
พลังงานความร้อนที่ให้กับระบบมีค่าเท่ากับผลรวมของพลังงานภายในที่เพิ่มขึ้น กับงานที่ทําโดยระบบ
หรือ ∆Q = ∆U + ∆W
∆Q = (3
2
NKB∆T) + ∆W ---(1)
จาก (1) ถ้า ∆T = 0แล้ว ∆Q = ∆W
ตอบข้อ 3.
∆Q
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 11
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
จากสมการการหาตําแหน่งแถบมืดของสลิตเดี่ยว a
x
L
= nλ
เมื่อ a , L , n คงเดิม ดังนั้น x ∝ λ
เนื่องจากอัตราเร็วแสงในนํ้าน้อยกว่าในอากาศ ดังนั้น ความยาวคลื่นแสงในนํ้าจะน้อยกว่าในอากาศด้วย
ดังนั้น ระยะx ในนํ้าจะน้อยกว่าในอากาศ
ตอบข้อ 3.
แถบมืดที่ 1 (N1)
a
λ
ฉากรับแสง
แถบสว่างกลาง(A0)
แถบมืดที่ 1 (N1)
L
x
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 12
วิธีคิด
พิจารณารูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
จากสมการการแทรกสอดแบบเสริมของสลิตคู่
d
x
L
= nλ
แทนค่าn = 1 จะได้ x1 = (1)λ
L
d
4 cm/8 = 0.5 cm
แถบสว่างที่ 2 (A2) n = 2
แถบสว่างที่ 1 (A1) n = 1x2
d = ?
ฉากรับแสง
แถบสว่างกลาง (A0)
s1
s2
L = 2.0 m
x1 = 0.5 cm
สลิตคู่
λ = 650 nm
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 13
0.5x10-2
= (1)(650x10-9
)2.0
d
∴ d = 0.26 mm
ตอบข้อ 2.
วิธีคิด
เรื่องสมดุลของแรง และไฟฟ้าสถิต
วาดรูปตามโจทย์ใส่แรงทั้งหมดที่กระทํากับทรงกลม
เขียนสมการจากรูป
เมื่อทรงกลมอยู่ในสมดุล
แรงทางขวา= แรงทางซ้าย
F = T sin30
qE = q
∆V
d
= T sin 30
q
∆V
d
= T sin 30 ---(1)
แรงลง = แรงขึ้น
mg = T cos 30 --- (2)
(1)/(2) , q
∆V
dmg
= tan 30
d
Tsin30
Tcos30T
30°
mg
+q
+
+
+
+
+
-
-
-
-
-
F = qE
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 14
∆V =
mgd
q√3
ตอบข้อ 2. (สทศ. ตอบข้อ 1. มีใครไปโวยคนออกสอบบ้างหรือยัง...)
วิธีคิด
สมมติหลอดไฟแต่ละดวงมีความต้านทานเท่ากับR
ขณะยังไม่สับสวิตช์S กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่าน A B และ C , Rรวม = 3R
ได้ IA = IB = IC =
V
3R
หลังสับสวิตช์S ลง ลวด xy ซึ่งไม่มีความต้านทาน (Rxy = 0) กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านลวดxy และไม่มี
กระแสไหลผ่านหลอด B กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน A , C จะมากขึ้น, Rรวม = 2R
ได้ IA = IC =
V
2R
ตอบข้อ 2.
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 15
วิธีคิด
ข้อนี้เกินหลักสูตร
ก. ผิด พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ UC เปรียบได้กับพลังงานศักย์ยืดหยุ่นของสปริงEp
ข. ถูกต้อง
ค. ผิด k เปรียบได้กับ
1
C
ดูเพิ่มเติมได้ที่ http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/95/index95.htm
ตอบข้อ 1.
วิธีคิด
จาก ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ λ =
h
mv
เมื่อ h , m คงตัว จะได้λ ∝
1
v
ดังนั้น
λ4
λ2
=
v2
v4
หาค่า v2 , v4 จาก Ek = - En = -
E1
n2
(แบบเรียน สสวท. หลักสูตร 2551 บทที่ 19 หน้า 126, 127 )
Ek2 = - E2 Ek4 = - E4
½ mv2
2
= -
E1
22
---(1) ½ mv4
2
= - E1
42 ---(2)
(1)/(2) ,
v2
2
v4
2 =
42
22
v2
v4
=
4
2
ดังนั้น
λ4
λ2
=
v2
v4
= 2
ตอบข้อ 2.
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 16
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นหน้าที่แต้มสีของB เท่ากับ 2 เท่าของ A
ถ้าต้องการให้จํานวนลูกเต๋าขึ้นหน้าแต้มสีของการทอดครั้งแรกเท่ากันจะต้องใช้ลูกเต๋าB จํานวน
600
2
= 300
ลูก
ตอบข้อ 2.
วิธีคิด
เริ่มจากวาดรูปตามข้อมูลที่โจทย์ให้มา พยามแปลงความหมายโจทย์ให้เป็นภาพก่อน
A จํานวน 600 ลูก
โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นหน้าที่แต้มสีเท่ากับ
1
6
A
B จํานวน ? ลูก
โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นหน้าที่แต้มสีเท่ากับ
2
6
B
F = ?
2 kg
4 kg
𝜇𝜇s = 0.4
𝜇𝜇k = 0.2
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 17
โจทย์ระบุหลังจากออกแรงF ผลักกล่องล่าง กล่องบนเริ่มไถลหมายความว่ายังไม่ไถลโดยกล่องทั้งสอง
เคลื่อนที่ติดไปด้วยกันด้วยความเร่งa ในทิศทางเดียวกันกับแรงF ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อ2 ของนิวตัน และ
การที่กล่องบนเคลื่อนที่ติดไปกับกล่องล่างได้เพราะมีแรงเสียดทานระหว่างผิวกล่องทั้งสองกระทําโดยแรง
เสียดทานที่กระทํากับกล่องบนเป็นแรง(ภายนอก) จากกล่องล่างตามรูปมีทิศทางไปทางขวามือเพราะกล่อง
บนพยามไถลไปทางซ้าย แรงเสียดทานจึงมีทิศต้านการเคลื่อนที่ไปทางขวามือ และการที่กล่องบนเริ่มไถล
แสดงว่าแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเป็นแรงเสียดทานสถิตสูงสุด ไม่ใช่แรงเสียดทานจลน์ซึ่งเกิดเมื่อวัตถุเคลื่อนที่
ไปแล้ว
พิจารณาที่กล่องใส่แรงทั้งหมดที่กระทํากับกล่องทั้งสอง
เมื่อได้ความเร่งa จากการพิจารณาที่กล่องบน หาแรงF โดยการยุบมวลทั้งสองก้อนรวมกันโดยรูปที่ได้จะ
เป็นดังนี้
ตอบ F = 23.52 N
fs21 เป็นแรงเสียดทานสถิตที่กล่องล่างกระทํากับกล่องบน และเป็นแรงคู่
กิริยา-ปฎิกิริยา กับ fs12 ซึ่งเป็น แรงเสียดทานสถิตที่กล่องบนกระทํากับ
กล่องล่าง ขนาด fs21 = fs12 แต่มีทิศตรงข้ามกันตามฎข้อ 3 ของนิวตัน
N21 เป็นแรงปฎิกิริยาที่กล่องล่างกระทํากับกล่องบน และเป็นแรงคู่กิริยา-
ปฎิกิริยา กับ N12 ซึ่งเป็น แรงปฎิกิริยาที่กล่องบนกระทํากับกล่องล่าง
ขนาด N21 = N12 แต่มีทิศตรงข้ามกันตามฎข้อ 3 ของนิวตัน
fs21
m1g
N21
a
m1
m2g
N12
N2
fs12
F = ?
m2
a
F = ?
m = m1+ m2
m = 2+ 4 = 6 kg
a = 3.92 m/s2
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 18
วิธีคิด
ข้อนี้ใช้หลักกฎการอนุรักษ์พลังงานหาขนาดความเร็วที่จุดตํ่าสุดก่อน แล้วหาความเร่งสู่ศูนย์กลางของวัตถุ
จากการเคลื่อนที่แบบวงกลม ลองทําเองข้อนี้ง่ายสุดๆ ในบรรดาข้อสอบอัตนัย4 คะแนนเอาไปเลย..
ตอบ 19.60 หรือ 2g
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
หา T2 จาก P2V2 = nRT2
(2x105
)(1x10-3
) = (2/R)(R)T2
T2 = 100 K
จาก ∆Q = ∆U + ∆W
∆Q = (3
2
nR∆T) + ∆W
n = 2/Rโมล
T1 = 300 K
n = 2/Rโมล
V2 = 1x10-3
m3
P2 = 2x105
N/m2
T2 = ?
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 19
0 = (3
2
(2/R)(R)(100 – 300) + ∆W
∴ ∆W = 600.00 J
ตอบ 600.00 J
ข้อสังเกต โจทย์ข้อนี้น่าจะเปลี่ยนข้อความ ถ้าลูกสูบถูกอัด มาเป็น ถ้าลูกสูบขยายตัวเพราะอุณหภูมิของแก๊ส
ภายหลังลดลง และเกิดงานที่กระทําโดยแก๊สในกระบอกสูบ
วิธีคิด
วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
หาระยะภาพ s’ จาก
1
f
=
1
s
+
1
s′
โดยที่ f = +4 , s = +2
1
4
=
1
2
+
1
s′
1
s′
=
1
4
–
1
2
1
s′
=
1−2
4
1
s′
= -
1
4
s’ = -4 cm (เป็น - เกิดภาพเสมือน หลังกระจก)
y = ?
s = 2 cm
f = 4 cm
FC
y’ = 2 cm
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 20
หาขนาดภาพ y’ จาก M =
y′
y
=
s′
s
y = y’ (
s
s′
)
y = 2 (
2
4
)
∴ y = 1.00 cm
ตอบ 1.00 cm
วิธีคิด
เรื่องไฟฟ้าและแม่เหล็ก
พิจารณารูปตามโจทย์ใส่แรงทั้งหมดที่กระทํากับเส้นลวดและปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป
สมมติออกแรง F1 กระทํากับลวดตัวนําในทิศจากซ้ายไปขวาดังรูป เมื่อเส้นลวดเคลื่อนที่ตัดผ่าน
สนามแม่เหล็กทําให้เกิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนําE และกระแสเหนี่ยวนําI ในเส้นลวด
เมื่อกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนํา I ไหลในเส้นลวด จะเกิดแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กF2 = IℓB กระทํา ซึ่งเมื่อ F1
= F2 จะทําให้เส้นลวดเคลื่อนที่แบบไม่มีความเร่ง คือความเร็วคงตัวตามที่โจทย์กําหนด
R = 2 Ω F2
I v = 3 m/s
F1 = ? 0.1 m
x B = 2 เทสลา
โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 21
หาแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนําE จาก E = vℓB (ตรงนี้ดูเหมือนจะเกินหลักสูตรไปหน่อย..)
E = (3)(0.1)(2) = 0.6 โวลต์
จาก F2 = IℓB
F2 =
E
R
ℓB
F2 =
0.6
2
(0.1)(2) = 0.06 N
ดังนั้น F1 = F2 = 0.06 N
ตอบ 0.06N
วิธีคิด
เขียนปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้น
C6
14
→ N7
14
+ e−1
0
+ พลังงาน
หาผลต่างมวลระหว่างนิวเคลียสผลผลิตกับนิวเคลียสตั้งต้น
เนื่องจากมวลของ e−1
0
น้อยมากเมื่อเทียบกับนิวเคลียส
ผลต่างมวลเท่ากับ 14.003242u - 14.003 074u = 0.000168 u
∴ พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาเท่ากับ (0.000168 u)(930) = 0.16 MeV
ตอบ 0.16 MeV
แนะนําหนังสือ อ.จรัญ บุระตะ
คู่มือ เรียนรู้ด้วยตนเอง ฟิสิกส์ เล่ม1 -5 คู่มือ GAT ตอนที่ 1 ความถนัดทั่วไป

More Related Content

Pat2 ฟิสิกส์

  • 2. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 2 วิธีคิด จากนิยามความเร่งในขณะใดขณะหนึ่งa = ∆v ∆t โดยที่ ∆v และ ∆t เป็นความเร็ว และเวลาที่เปลี่ยนไปในช่วง สั้นๆ ถ้าอัตราเร็วหรือขนาดของความเร็วกําลังเพิ่มขึ้น ขนาดความเร่งอาจจะคงที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงก็ได้ เช่นในช่วง1 วินาทีมีความเร็วเปลี่ยนเป็น 1 --> 2 --> 3--> 4 m/s ความเร่งจะคงที่เป็น1 m/s2 หรือเป็น 1 --> 2 --> 4 --> 7 m/s ความเร่งจะเพิ่มขึ้นเป็น1 --> 2--> 3 m/s2 หรือเป็น 1 --> 4 --> 6 --> 7 m/s ความเร่งจะลดลงเป็น 3 --> 2--> 1 m/s2 ตอบข้อ4. โจทย์ข้อนี้ต้องคิดให้ละเอียดนิดหนึ่ง ถ้าดูเผินๆ อาจคิดว่าตอบข้อ1 ซึ่งยังไม่ใช่คําตอบที่ถูกต้องที่สุด การ เข้าใจนิยามของอัตราเร็วและความเร่งให้ถ่องแท้รวมกับการรู้จักหาเหตุผลมารองรับคําตอบที่เลือก จึงจะทํา ให้นักเรียนได้คําตอบที่ถูกต้องและมีความมั่นใจว่าทําถูกจริงๆ การฝึกมากๆ จะทําให้นักเรียนมีทักษะในการคิด และเรียนได้อย่างสนุกอย่าเอาแต่เรียนหรือไปฟังคนอื่นพูด โดยไม่มีเวลาฝึกคิดด้วยตัวเองเพราะนอกจากจะเสียเวลาแล้วยังไม่เกิดประโยชน์อันใดเลย
  • 3. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 3 วิธีคิด พิจารณารูปตามโจทย์ใส่แรงที่กระทํากับวัตถุ(ถุงทราย) จากกฎการเคลื่อนที่ข้อ2 ของนิวตัน ∑ F = ma จากรูป จะได้ F – fk = m(0) ∴ F = fk ข้อ 1. ผิด เพราะ∑ F = ma = 0 N ข้อ 2. ถูกต้อง fk = F = 2 N ข้อ 3. ผิด ข้อ 4. ผิดเพราะ F – fk = 0 ตอบข้อ2. ข้อนี้มีแรงเนื่องจากนํ้าหนักถุงทราย mg และแรง ปฏิกิริยาของพื้น N กระทํากับถุงทรายด้วย แต่แรงทั้ง สองไม่มีผลต่อการวิเคราะห์โจทย์ จึงไม่ต้องนํามาคิด= 2 N v คงตัว ∴ a = 0 fk
  • 4. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 4 วิธีคิด ลูกขนไก่ที่มีมวลเท่ากับวัตถุทรงกลม ลูกขนไก่จะมีปริมาตรมากกว่า วัตถุทรงกลม และลูกขนไก่มีรูปทรงแตกต่างกันวัตถุทรงกลมมีความหนาแน่นมากกว่าลูกขนไก่ ผลของแรง ต้านอากาศมีไม่มากนักวัตถุทรงกลมจึงมีเส้นทางการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ส่วนลูกขนไก่มีความ หนาแน่นน้อยผลของแรงต้านอากาศมีมากลูกขนไก่จึงมีเส้นทางการเคลื่อนที่ไม่เป็นแบบโพรเจกไทล์และ เคลื่อนที่ไปได้ความสูงและระยะทางตามแนวระดับน้อยกว่าวัตถุทรงกลม ตอบข้อ 4. วัตถุทรงกลม ลูกขนไก่
  • 5. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 5 วิธีคิด ให้แนวแกนขนานลงมาตามพื้นเอียงเป็นแกนy ข้อ ก. A ถึงพื้นก่อน B เพราะ (uAy = uA ) > uBy = 0 ข้อ ข. A และ B ถึงพื้นพร้อมกันพราะ uAy = uBy = 0 ข้อ ค. B ถึงพื้นก่อน A เพราะuAy = 0 , uBy = uB sinθ > uAy ข้อ ง. A และ B ถึงพื้นพร้อมกันเมื่อ uA = uB และ θ = 90° ตอบข้อ 4. x y
  • 6. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 6 วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ จาก F = ma ถ้า F ลดลงสมํ่าเสมอ ดังนั้น a ลดลงสมํ่าเสมอ (m คงเดิม) จาก a = ∆v t ถ้า a ลดลงสมํ่าเสมอ ดังนั้น ∆v t ลดลงสมํ่าเสมอ พิจารณา ∆v t ลดลงสมํ่าเสมอ ถ้าให้ t = 1 ทุกๆ ช่วงที่ v เปลี่ยน ∆v ลดลงสมํ่าเสมอ เช่น ∆v เป็น 4 → 3 → 2 → 1 จะได้v ดังเช่น 2 → 6 → 9 → 11 → 12 ---(1) จาก(1) ,จะได้v2 เป็น 22 → 62 → 92 → 112 → 122 v2 เป็น 4 → 36 → 81 → 121 → 144 พลังงานจลน์ Ek = ½ mv2 เป็น ½ m(4) → ½ m(36) → ½ m(81) → ½ m(121) → ½ m(144) พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น เป็น (½ m(36) - ½ m(4)) → (½ m(81) - ½ m(36)) → (½ m(121) - ½ m(81)) → (½ m(144) - ½ m(121)) พลังงานจลน์เพิ่มขึ้น เป็น (½ m(32)) → (½ m(45)) → (½ m(40)) → (½ m(23)) ∴ พลังงานจลน์เพิ่มขึ้นด้วยอัตราไม่สมํ่าเสมอ ตอบข้อ 2. a F m Ek = ½ mv2
  • 7. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 7 วิธีคิด ความเร็วปลายของวัตถุในของเหลว เป็นความเร็วสูงสุดที่วัตถุเคลื่อนที่มีขนาดคงที่ค่าหนึ่งเสมอดังนั้นไม่ว่า จะปล่อย หรือขว้างวัตถุลงมา ความเร็วปลายของวัตถุยังคงเท่ากัน ความเร็วปลายขึ้นอยู่กับค่าความหนืด หนืดมากความเร็วปลายน้อยและความหนืดขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ โดย ความหนืดจะลดลงถ้าอุณหภูมิของเหลวเพิ่มขึ้น ตอบข้อ 3. วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ใส่แรง และปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป จากรูป mg ในอากาศ T1 = N1 mg FB T2 = N2 ในนํ้า 𝜌𝜌 𝜌𝜌นํ้า 𝜌𝜌 = ?𝜌𝜌นํ้า
  • 8. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 8 ในอากาศ T1 = mg = N1 ในนํ้า T2 + FB = mg N2 + FB = N1 N2 + 𝜌𝜌นํ้าVจมg = N1 (FB = นํ้าหนักนํ้าที่มีปริมาตรเท่าวัตถุส่วนที่จม= mนํ้าg = 𝜌𝜌นํ้าVจมg) N2 + 𝜌𝜌นํ้า m ρ g = N1 N2 + 𝜌𝜌นํ้า N1 ρ = N1 (mg = N1) 𝜌𝜌นํ้า N1 ρ = N1 – N2 ρ = ( N1 N1− N2 ) 𝜌𝜌นํ้า ตอบข้อ 1. วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป คลื่นเสียงเคลื่อนที่จากนักเรียนไปกระทบหน้าผาจะใช้เวลาครึ่งหนึ่งของเวลาทั้งหมดจนได้รับเสียงสะท้อน หาอัตราเร็วเสียงจาก v = s t (เสียงเคลื่อนที่แนวตรงด้วยอัตราเร็วคงตัว) v = 102 0.3 (t = 0.6 2 = 0.3 s) v = 340 m/s หาความถี่เสียง f จาก v = f λ λ = 0.5 m f = ? tทั้งหมด = 0.6 s s = 102 m
  • 9. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 9 340 = f(0.5) ∴ f = 680 Hz ตอบข้อ 4. วิธีคิด ข้อนี้ใช้กฎของเทอร์ริเซลลี และหลักของโพรเจกไทล์รวมกัน คล้ายกับแนวข้อสอบข้อ85 ตค.52 ในหนังสือ ฟิสิกส์ PAT2ของครู พิจารณารูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป วิธีพิจารณานํ้าพุ่งไปไกล ใช้หลักโพรเจกไทล์ว่าsx = ux t จากสูตรจะเห็นว่าถ้าความเร็วต้นของนํ้าขณะพุ่งออกจากรูux มีค่ามาก ค่าsx ก็น่าจะมากตาม แต่ยังมี t อีกตัวที่มีผลต่อsx ด้วย ค่า ux จะมากเมื่อรูเจาะอยู่ตํ่าใกล้ๆ ก้นภาชนะ ส่วนค่าt จะมากเมื่อรูเจาะอยู่สูงกว่าก้นภาชนะมากๆ แล้วมัน ควรจะอยู่ตรงไหนดีหละนํ้าจึงจะพุ่งไปไกลสุด????.. h2 h1 ux sx
  • 10. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 10 เมี่อวาดรูปดู ให้ h1 เป็นความสูงจากผิวนํ้าถึงรูเจาะ และh2 เป็นความสูงจากรูเจาะถึงก้นภาชนะ โดยที่ h1+ h2 = H เราสามารถหาความเร็วของนํ้าขณะพุ่งออกจากรูux จากกฏของเทอร์ริเซลลี ได้ux = �2gh1 และหาเวลา t จากหลักของโพรเจกไทล์h2 = 0 + ½ gt2 ได้ t = � 2h2 g ดังนั้น sx = ux t = �2gh1 � 2h2 g sx = 2 �h1h2 จากสมการนี้จะเห็นว่าsx ขึ้นอยู่กับค่าh1 คูณกับh2 ลองแทนค่าในคําตอบที่โจทย์ให้มา โดยที่ h1+ h2 = H ข้อ 1. h1h2 = (7/8)H (1/8)H = (7/64)H2 ข้อ 2. h1h2 = (3/4)H (1/4)H = (3/16)H2 ข้อ 3. h1h2 = (1/2)H (1/2)H = (1/4)H2 มีค่ามากที่สุด เป็นคําตอบที่ถูกต้อง ตอบข้อ 3. วิธีคิด พิจารณารูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป จากกฎข้อที่ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์ พลังงานความร้อนที่ให้กับระบบมีค่าเท่ากับผลรวมของพลังงานภายในที่เพิ่มขึ้น กับงานที่ทําโดยระบบ หรือ ∆Q = ∆U + ∆W ∆Q = (3 2 NKB∆T) + ∆W ---(1) จาก (1) ถ้า ∆T = 0แล้ว ∆Q = ∆W ตอบข้อ 3. ∆Q
  • 11. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 11 วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป จากสมการการหาตําแหน่งแถบมืดของสลิตเดี่ยว a x L = nλ เมื่อ a , L , n คงเดิม ดังนั้น x ∝ λ เนื่องจากอัตราเร็วแสงในนํ้าน้อยกว่าในอากาศ ดังนั้น ความยาวคลื่นแสงในนํ้าจะน้อยกว่าในอากาศด้วย ดังนั้น ระยะx ในนํ้าจะน้อยกว่าในอากาศ ตอบข้อ 3. แถบมืดที่ 1 (N1) a λ ฉากรับแสง แถบสว่างกลาง(A0) แถบมืดที่ 1 (N1) L x
  • 12. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 12 วิธีคิด พิจารณารูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป จากสมการการแทรกสอดแบบเสริมของสลิตคู่ d x L = nλ แทนค่าn = 1 จะได้ x1 = (1)λ L d 4 cm/8 = 0.5 cm แถบสว่างที่ 2 (A2) n = 2 แถบสว่างที่ 1 (A1) n = 1x2 d = ? ฉากรับแสง แถบสว่างกลาง (A0) s1 s2 L = 2.0 m x1 = 0.5 cm สลิตคู่ λ = 650 nm
  • 13. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 13 0.5x10-2 = (1)(650x10-9 )2.0 d ∴ d = 0.26 mm ตอบข้อ 2. วิธีคิด เรื่องสมดุลของแรง และไฟฟ้าสถิต วาดรูปตามโจทย์ใส่แรงทั้งหมดที่กระทํากับทรงกลม เขียนสมการจากรูป เมื่อทรงกลมอยู่ในสมดุล แรงทางขวา= แรงทางซ้าย F = T sin30 qE = q ∆V d = T sin 30 q ∆V d = T sin 30 ---(1) แรงลง = แรงขึ้น mg = T cos 30 --- (2) (1)/(2) , q ∆V dmg = tan 30 d Tsin30 Tcos30T 30° mg +q + + + + + - - - - - F = qE
  • 14. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 14 ∆V = mgd q√3 ตอบข้อ 2. (สทศ. ตอบข้อ 1. มีใครไปโวยคนออกสอบบ้างหรือยัง...) วิธีคิด สมมติหลอดไฟแต่ละดวงมีความต้านทานเท่ากับR ขณะยังไม่สับสวิตช์S กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่าน A B และ C , Rรวม = 3R ได้ IA = IB = IC = V 3R หลังสับสวิตช์S ลง ลวด xy ซึ่งไม่มีความต้านทาน (Rxy = 0) กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านลวดxy และไม่มี กระแสไหลผ่านหลอด B กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่าน A , C จะมากขึ้น, Rรวม = 2R ได้ IA = IC = V 2R ตอบข้อ 2.
  • 15. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 15 วิธีคิด ข้อนี้เกินหลักสูตร ก. ผิด พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ UC เปรียบได้กับพลังงานศักย์ยืดหยุ่นของสปริงEp ข. ถูกต้อง ค. ผิด k เปรียบได้กับ 1 C ดูเพิ่มเติมได้ที่ http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/95/index95.htm ตอบข้อ 1. วิธีคิด จาก ความยาวคลื่นเดอบรอยล์ λ = h mv เมื่อ h , m คงตัว จะได้λ ∝ 1 v ดังนั้น λ4 λ2 = v2 v4 หาค่า v2 , v4 จาก Ek = - En = - E1 n2 (แบบเรียน สสวท. หลักสูตร 2551 บทที่ 19 หน้า 126, 127 ) Ek2 = - E2 Ek4 = - E4 ½ mv2 2 = - E1 22 ---(1) ½ mv4 2 = - E1 42 ---(2) (1)/(2) , v2 2 v4 2 = 42 22 v2 v4 = 4 2 ดังนั้น λ4 λ2 = v2 v4 = 2 ตอบข้อ 2.
  • 16. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 16 วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นหน้าที่แต้มสีของB เท่ากับ 2 เท่าของ A ถ้าต้องการให้จํานวนลูกเต๋าขึ้นหน้าแต้มสีของการทอดครั้งแรกเท่ากันจะต้องใช้ลูกเต๋าB จํานวน 600 2 = 300 ลูก ตอบข้อ 2. วิธีคิด เริ่มจากวาดรูปตามข้อมูลที่โจทย์ให้มา พยามแปลงความหมายโจทย์ให้เป็นภาพก่อน A จํานวน 600 ลูก โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นหน้าที่แต้มสีเท่ากับ 1 6 A B จํานวน ? ลูก โอกาสที่ลูกเต๋าจะขึ้นหน้าที่แต้มสีเท่ากับ 2 6 B F = ? 2 kg 4 kg 𝜇𝜇s = 0.4 𝜇𝜇k = 0.2
  • 17. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 17 โจทย์ระบุหลังจากออกแรงF ผลักกล่องล่าง กล่องบนเริ่มไถลหมายความว่ายังไม่ไถลโดยกล่องทั้งสอง เคลื่อนที่ติดไปด้วยกันด้วยความเร่งa ในทิศทางเดียวกันกับแรงF ตามกฎการเคลื่อนที่ข้อ2 ของนิวตัน และ การที่กล่องบนเคลื่อนที่ติดไปกับกล่องล่างได้เพราะมีแรงเสียดทานระหว่างผิวกล่องทั้งสองกระทําโดยแรง เสียดทานที่กระทํากับกล่องบนเป็นแรง(ภายนอก) จากกล่องล่างตามรูปมีทิศทางไปทางขวามือเพราะกล่อง บนพยามไถลไปทางซ้าย แรงเสียดทานจึงมีทิศต้านการเคลื่อนที่ไปทางขวามือ และการที่กล่องบนเริ่มไถล แสดงว่าแรงเสียดทานที่เกิดขึ้นเป็นแรงเสียดทานสถิตสูงสุด ไม่ใช่แรงเสียดทานจลน์ซึ่งเกิดเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ ไปแล้ว พิจารณาที่กล่องใส่แรงทั้งหมดที่กระทํากับกล่องทั้งสอง เมื่อได้ความเร่งa จากการพิจารณาที่กล่องบน หาแรงF โดยการยุบมวลทั้งสองก้อนรวมกันโดยรูปที่ได้จะ เป็นดังนี้ ตอบ F = 23.52 N fs21 เป็นแรงเสียดทานสถิตที่กล่องล่างกระทํากับกล่องบน และเป็นแรงคู่ กิริยา-ปฎิกิริยา กับ fs12 ซึ่งเป็น แรงเสียดทานสถิตที่กล่องบนกระทํากับ กล่องล่าง ขนาด fs21 = fs12 แต่มีทิศตรงข้ามกันตามฎข้อ 3 ของนิวตัน N21 เป็นแรงปฎิกิริยาที่กล่องล่างกระทํากับกล่องบน และเป็นแรงคู่กิริยา- ปฎิกิริยา กับ N12 ซึ่งเป็น แรงปฎิกิริยาที่กล่องบนกระทํากับกล่องล่าง ขนาด N21 = N12 แต่มีทิศตรงข้ามกันตามฎข้อ 3 ของนิวตัน fs21 m1g N21 a m1 m2g N12 N2 fs12 F = ? m2 a F = ? m = m1+ m2 m = 2+ 4 = 6 kg a = 3.92 m/s2
  • 18. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 18 วิธีคิด ข้อนี้ใช้หลักกฎการอนุรักษ์พลังงานหาขนาดความเร็วที่จุดตํ่าสุดก่อน แล้วหาความเร่งสู่ศูนย์กลางของวัตถุ จากการเคลื่อนที่แบบวงกลม ลองทําเองข้อนี้ง่ายสุดๆ ในบรรดาข้อสอบอัตนัย4 คะแนนเอาไปเลย.. ตอบ 19.60 หรือ 2g วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป หา T2 จาก P2V2 = nRT2 (2x105 )(1x10-3 ) = (2/R)(R)T2 T2 = 100 K จาก ∆Q = ∆U + ∆W ∆Q = (3 2 nR∆T) + ∆W n = 2/Rโมล T1 = 300 K n = 2/Rโมล V2 = 1x10-3 m3 P2 = 2x105 N/m2 T2 = ?
  • 19. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 19 0 = (3 2 (2/R)(R)(100 – 300) + ∆W ∴ ∆W = 600.00 J ตอบ 600.00 J ข้อสังเกต โจทย์ข้อนี้น่าจะเปลี่ยนข้อความ ถ้าลูกสูบถูกอัด มาเป็น ถ้าลูกสูบขยายตัวเพราะอุณหภูมิของแก๊ส ภายหลังลดลง และเกิดงานที่กระทําโดยแก๊สในกระบอกสูบ วิธีคิด วาดรูปตามโจทย์ใส่ปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป หาระยะภาพ s’ จาก 1 f = 1 s + 1 s′ โดยที่ f = +4 , s = +2 1 4 = 1 2 + 1 s′ 1 s′ = 1 4 – 1 2 1 s′ = 1−2 4 1 s′ = - 1 4 s’ = -4 cm (เป็น - เกิดภาพเสมือน หลังกระจก) y = ? s = 2 cm f = 4 cm FC y’ = 2 cm
  • 20. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 20 หาขนาดภาพ y’ จาก M = y′ y = s′ s y = y’ ( s s′ ) y = 2 ( 2 4 ) ∴ y = 1.00 cm ตอบ 1.00 cm วิธีคิด เรื่องไฟฟ้าและแม่เหล็ก พิจารณารูปตามโจทย์ใส่แรงทั้งหมดที่กระทํากับเส้นลวดและปริมาณที่เกี่ยวข้องลงไปในรูป สมมติออกแรง F1 กระทํากับลวดตัวนําในทิศจากซ้ายไปขวาดังรูป เมื่อเส้นลวดเคลื่อนที่ตัดผ่าน สนามแม่เหล็กทําให้เกิดแรงเคลื่อนเหนี่ยวนําE และกระแสเหนี่ยวนําI ในเส้นลวด เมื่อกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนํา I ไหลในเส้นลวด จะเกิดแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กF2 = IℓB กระทํา ซึ่งเมื่อ F1 = F2 จะทําให้เส้นลวดเคลื่อนที่แบบไม่มีความเร่ง คือความเร็วคงตัวตามที่โจทย์กําหนด R = 2 Ω F2 I v = 3 m/s F1 = ? 0.1 m x B = 2 เทสลา
  • 21. โรงเรียนดีดี– ที่พึ่งทางการศึกษาช่วยไขปัญหาให้ทุกคน www.schoolDD.com 21 หาแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนําE จาก E = vℓB (ตรงนี้ดูเหมือนจะเกินหลักสูตรไปหน่อย..) E = (3)(0.1)(2) = 0.6 โวลต์ จาก F2 = IℓB F2 = E R ℓB F2 = 0.6 2 (0.1)(2) = 0.06 N ดังนั้น F1 = F2 = 0.06 N ตอบ 0.06N วิธีคิด เขียนปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้น C6 14 → N7 14 + e−1 0 + พลังงาน หาผลต่างมวลระหว่างนิวเคลียสผลผลิตกับนิวเคลียสตั้งต้น เนื่องจากมวลของ e−1 0 น้อยมากเมื่อเทียบกับนิวเคลียส ผลต่างมวลเท่ากับ 14.003242u - 14.003 074u = 0.000168 u ∴ พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาเท่ากับ (0.000168 u)(930) = 0.16 MeV ตอบ 0.16 MeV แนะนําหนังสือ อ.จรัญ บุระตะ คู่มือ เรียนรู้ด้วยตนเอง ฟิสิกส์ เล่ม1 -5 คู่มือ GAT ตอนที่ 1 ความถนัดทั่วไป