Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
SlideShare a Scribd company logo
การมีส่วนร่วมระหว่างชุมชนและโรงเรียนในการอนุรักษ์แหล่งน้า
Participation Between Community and School to
Conservation of Water Resource
1ขนิษฐา เจริญลาภ 1ปทุมทิพย์ ปราบพาล 2 ปิยะธิดา วรรณพิณ
3 ประทีป มาสุข 3 กนกทิพย์ เล่ห์บ้านเกาะ 3 ดนัย พุทธนิยม 3 พัฒนชัย ชุนรักษ์
1มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ 2สานักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร
3โรงเรียนบางแค (เนื่องสังวาลย์อนุสรณ์)
Thailand research symposium 2014
Centara Grand and Bangkok Convention Centre
10 August 2014
10 8-2014-thairesearch2014
10 8-2014-thairesearch2014
แหล่งนาที่มีคุณภาพเสื่อมโทรมร้อยละ 18
แหล่งนาที่มีคุณภาพพอใช้ร้อยละ 48
แหล่งนาที่มีคุณภาพดีร้อยละ 34
ความเสื่อมโทรม
ของแหล่งนา
ขาดความรู้
ความเข้าใจ
ขาดความ
ตระหนัก
การขยายตัวของ
ชุมชน
ความต้องการ
ใช้นาในกิจกรรม
ต่างๆ
วัตถุประสงค์
• เพื่อศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์แหล่งนาของเยาวชน
และชุมชนซอยเพชรเกษม 51
• เพื่อสร้างเสริมความรู้ ความสามารถให้แก่เยาวชน และชุมชนซอยเพชร
เกษม 51 ในการตรวจสอบคุณภาพนาโดยใช้อุปกรณ์ติดตามตรวจสอบ
คุณภาพนาแบบพกพา (Test Kit)
วัตถุประสงค์
• เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของระบบบึงประดิษฐ์ ในการบาบัดนาเสียจาก
โรงอาหาร
• เพื่อหาแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรนาร่วมกันระหว่างชุมชนและ
โรงเรียน
การอบรมให้
ความรู้
• การอนุรักษ์น้า/ปัญหามลพิษทางน้า
• การตรวจติดตามคุณภาพน้า
• การสร้างถังดักไขมัน
• การบ้าบัดน้าเสียอย่างง่าย
ตัวแปรต้น
• ประชาชนในชุมชน
• เยาวชนในโรงเรียน
ตัวแปรตาม
• ความรู้ความเข้าใจ
• ความตระหนัก
• การมีส่วนร่วม
• พฤติกรรม
ศูนย์การเรียนรู้
ขอบเขตการศึกษา
• ขอบเขตด้านพืนที่
–โรงเรียนบางแค (เนื่องสังวาลย์อนุสรณ์) สังกัดกรุงเทพมหานคร
–ชุมชนซอยเพชรเกษม 51
ขอบเขตการศึกษา
• ขอบเขตประชากร
–นักเรียนชันประถมศึกษาปีที่ 4 และ 5 โรงเรียนบางแค (เนื่องสังวาลย์
อนุสรณ์) และโรงเรียนเครือข่ายในสังกัดกรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย
โรงเรียนวัดรัชฎาธิฐาน โรงเรียนเพชรเกษม โรงเรียนบางไผ่ (บ้านนายพัน
กว้าง) โรงเรียนวัดชัยฉิมพลี โรงเรียนวัดศาลาแดง โรงเรียนวัดบางบอน
โรงเรียนบ้านนายสี โรงเรียนวัดบุณยประดิษฐ์ โรงเรียนวัดนันทสุธาราม
– ผู้นาชุมชน แกนนาชุมชน
วิธีการด้าเนินการวิจัย
• ศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจในการ
อนุรักษ์แหล่งนาของเยาวชน และ
ประชาชนในชุมชนซอยเพชรเกษม 51
โดยใช้แบบสอบถาม
วิธีการด้าเนินการวิจัย
• สร้างเสริมความรู้ ความสามารถให้แก่เยาวชน และชุมชนซอยเพชรเกษม
51 ในการตรวจสอบ คุณภาพนา โดยอบรมให้ความรู้แก่เยาวชน และคน
ในชุมชน เกี่ยวกับปัญหามลพิษทางนา การรักษาสภาพแวดล้อมในชุมชน
การสร้างถังดักไขมัน การใช้และการบารุงรักษาถังดักไขมัน การบาบัดนา
เสียด้วยระบบบึงประดิษฐ์ และประเมินผลความพึงพอใจในการเข้ารับการ
อบรมโดยใช้แบบสอบถาม
10 8-2014-thairesearch2014
วิธีการด้าเนินการวิจัย
• ศึกษาประสิทธิภาพของระบบบึงประดิษฐ์ ในการบาบัดนาเสียของ
โรงเรียน โดยการออกแบบและสร้างระบบบาบัดนาทิงโดยใช้วิธีทาง
ธรรมชาติ วิเคราะห์คุณภาพนาก่อนและหลังผ่านการบาบัด
วิธีการด้าเนินการวิจัย
• ศึกษาประสิทธิภาพของระบบบึงประดิษฐ์ ในการบาบัดนาเสียของ
โรงเรียน โดยการออกแบบและสร้างระบบบาบัดนาทิงโดยใช้วิธีทาง
ธรรมชาติ วิเคราะห์คุณภาพนาก่อนและหลังผ่านการบาบัด
• ศึกษาแนวทางการมีส่วนร่วมของชุมชนและโรงเรียนในการอนุรักษ์แหล่ง
นา โดยการ ประชาสัมพันธ์โครงการ และเปิดเวทีชาวบ้าน
ลักษณะของชุมชน
• ชุมชนดังเดิม
• ชุมชนโยกย้ายเข้ามาอาศัยอยู่
• โรงเรียนบางแค (เนื่องสังวาลย์อนุสรณ์)
คุณภาพน้าในคลองราษฎรสามัคคี
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) 27.50
พีเอช 7.67
ดีโอ (มิลลิกรัมต่อลิตร) 4.05
บีโอดี (มิลลิกรัมต่อลิตร) 2.56
การใช้น้าในคลองราษฎรสามัคคี
การเกษตรการเกษตร
คมนาคม
การอบรม เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ชุมชน
10 8-2014-thairesearch2014
10 8-2014-thairesearch2014
10 8-2014-thairesearch2014
10 8-2014-thairesearch2014
ลักษณะน้าเสียจากบ่อรวบรวมน้าเสียของ
โรงเรียนบางแค (เนื่องสังวาลย์อนุสรณ์)
พารามิเตอร์ ค่าเฉลี่ย ค่ามาตรฐานน้าทิง
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) 26.50
พีเอช 7.20 5.0-9.0
ดีโอ (มิลลิกรัมต่อลิตร) 3.45 -
บีโอดี (มิลลิกรัมต่อลิตร) 132.86 ไม่เกิน 20
ซีโอดี (มิลลิกรัมต่อลิตร) 254.58 ไม่เกิน 120
สารแขวนลอย (มิลลิกรัมต่อลิตร) 68.80 ไม่เกิน 40
น้ามันและไขมัน (มิลลิกรัมต่อลิตร) 42.93 ไม่เกิน 20
การออกแบบระบบบ้าบัดน้าเสียของโรงเรียนด้วยบึงประดิษฐ์
bioballอิฐหัก
กรวด
ละเอียดด้านล่าง
ทรายหยาบด้านบน
ถ่าน
น้าไหล
over flow
น้าไหล
over flow
น้ำไหลเข้ำด้ำนล่ำง
น้าไหล
over flow
น้ำไหลเข้ำด้ำนล่ำงน้ำไหลเข้ำด้ำนล่ำงน้ำไหลเข้ำด้ำนล่ำงน้ำไหลเข้ำด้ำนล่ำง
มองด้านบน
มองด้านข้าง
10 8-2014-thairesearch2014
คุณภาพน้าหลังการบ้าบัด
พารามิเตอร์ ค่าเฉลี่ย ค่า
มาตรฐาน
น้าทิง
ประสิทธิภาพของระบบ
(ร้อยละ)
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) 25.50 - -
พีเอช 7.08 5.0-9.0 1.67
ดีโอ (มิลลิกรัมต่อลิตร) 5.14 - -48.99
บีโอดี (มิลลิกรัมต่อลิตร) 24.85 < 20 81.30
ซีโอดี (มิลลิกรัมต่อลิตร) 136.00 < 120 46.58
สารแขวนลอย (มิลลิกรัมต่อลิตร) 28.47 < 40 58.62
น้าม้นและไขมัน (มิลลิกรัมต่อลิตร) 9.48 < 20 77.92
ระบบบ้าบัดน้าเสียในบ้านเรือนด้วยบึงประดิษฐ์
การมี
ส่วนร่วม
การให้ข้อมูล/
ข่าวสาร การ
ประชาสัมพันธ์
การให้
ความรู้
ผู้ร่วมวิจัย
รับฟังความ
คิดเห็น
โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้จากการวิจัยสู่ชุมชน
เวทีชาวบ้าน
ผลจากการประชุมเวทีชาวบ้าน
• การให้ทุกฝ่ายในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงานใน
ลักษณะที่เป็นการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมตัดสินใจ ร่วมรับผิดชอบ
ร่วมตรวจสอบ ร่วมประเมินและร่วมพัฒนา
• รวมทังพบว่าการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน
ด้านสิ่งแวดล้อม มีความสาคัญเป็นอย่างมาก
ผลจากการประชุมเวทีชาวบ้าน
• การใช้โรงเรียนเป็นฐานการพัฒนาความรู้โดยผ่านกิจกรรม โครงการ
เพื่อปลูกฝังให้นักเรียน มีจิตสานึก และความตระหนักด้าน
สิ่งแวดล้อม
ผลจากการประชุมเวทีชาวบ้าน
• การที่ชุมชนมีส่วนร่วมน้อยอาจจะเป็นเรื่องของโอกาสและเวลาของ
การมีส่วนร่วม ดังนันการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ควรผ่านทางโรงเรียน ซึ่ง
เยาวชนพร้อมที่จะได้รับการพัฒนา รวมทังโรงเรียนเป็นหน่วยงานที่
ต้องให้บริการด้านต่าง ๆ แก่ชุมชน
สรุป
• การลดความสกปรกจากนาทิงในบ้านเรือน ชุมชนริมคลอง จึงเป็นกลไก
สาคัญในการแก้ปัญหาความเสื่อมโทรมของแหล่งนาที่แหล่งกาเนิดโดยตรง
• ประชาชนผู้ใช้แม่นาลาคลองและแหล่งนาต่างๆ ควรตระหนักในคุณค่าของ
ทรัพยากรนา รู้จักการดูแลรักษา โดยส่งเสริมให้ เด็ก เยาวชน และคนใน
ชุมชนได้มีความรู้ความเข้าใจ เข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และ
ทรัพยากรนาในท้องถิ่นของตน
ขอบคุณ

More Related Content

10 8-2014-thairesearch2014