Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
SlideShare a Scribd company logo

1

โดยครูวิไลลักษณ์ ส่งเสริม แสงและการเกิดภาพ กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์

2

แสงและการเกิดภาพ วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น

3

แสงที่มองเห็น  (  ม่วง  คราม  น้ำเงิน  เขียว เหลือง  แสด  แดง  ) แสงที่ไม่สามารถมองเห็น  (  รังสี  UV   ,IR   , คลื่นวิทยุ ฯลฯ )   แสง  (Lights)   เป็นพลังงานรูปหนึ่ง

4

แหล่งกำนิดแสง คือ  วัตถุที่สามารถผลิตแสง  เช่น  ดวงอาทิตย์  ดาวฤกษ์  หลอดไฟ  หิ่งห้อย  เป็นต้น

5

คุณสมบัติคลื่นแสง 1.  การสะท้อน   2.   การหักเห 3.   การแทรกสอด 4.  การเลี้ยวเบน

6

สัญลักษณ์ของลำแสง รังสีขนาน  รังสีลู่เข้า  รังสีลู่ออก

7

การสะท้อนของแสง

8

การสะท้อนของแสงแบ่งได้  2  ลักษณะ  คือ การสะท้อนปกติ การสะท้อนกระจาย การสะท้อนของแสง

9

การสะท้อนแสงปกติ

10

การสะท้อนแสงแบบกระจาย

11

การสะท้อนแสง  เป็นตามกฎการสะท้อน มุมตกกระทบ  เท่ากับ มุมสะท้อน  โดยรังสีตกกระทบ  รังสีสะท้อน  และเส้นปกติ  ต้องอยู่ในระนาบเดียวกัน

12

การสะท้อนของแสง  ทำให้เกิดภาพจากวัตถุบางชนิด การเกิดภาพจากกระจก   กระจกเว้า กระจกนูน กระจกเงาระนาบ

13

การเกิดภาพจากกระจกเงาราบ ภาพที่เกิดจากกระจกเงาระนาบบานเดียว ภาพที่เกิดจากกระจกเงาระนาบ  2  บานวางทำมุมกัน

14

การเกิดภาพในกระจกเงาระนาบบานเดียว ตา 1 .  ระยะภาพ  =   ระยะวัตถุ 2 .   ขนาดภาพ  =  ขนาดวัตถุ 3 .   ภาพกลับช้าย ขวา

15

ภาพจริง   1.   เกิดจากแสงตัดกันจริง   2.   มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า  ถ้าต้องการมองเห็นด้วยตาเปล่า  ต้องนำฉากมาวางกั้น  แล้วมองที่ฉาก 3 .   ภาพที่มองเห็น จะหัวกลับ เทียบกับวัตถุ

16

ภาพเสมือน 1   เกิดจากแสงไม่ตัดกันจริง  ต้องต่อแนวย้อนออกไป 2  มองเห็นด้วยตาเปล่า  ไม่ต้องนำฉากมาวางกั้น 3   ภาพที่มองเห็น  หัวตั้งเหมือนวัตถุ

17

ภาพที่เกิดจากกระจกเงาระนาบ  2  บานวางทำมุมกัน กระจกเงาบานที่  2   กระจกเงาบานที่  1   วัตถุ ภาพที่  1 ภาพที่  2 ภาพที่  3

18

จำนวนภาพที่เกิดจากกระจกเงาระนาบวางทำมุมกัน สูตรในการคำนวณ n  =  360  -  1 เมื่อ  n  คือ  จำนวนภาพที่เกิดขึ้น คือ  มุมที่กระจกเงาระนาบทำมุมต่อกัน

19

ตัวอย่างการคำนวณ จงคำนวณหาจำนวนภาพที่เกิดขึ้นจากการสะท้อนบนกระจกเงาระนาบสองบานวางทำมุมต่อกัน  55   ๐ วิธีคำนวณ  จากสูตร  n  = 360  -  1 แทนค่า  n  =  360  -  1 55 =  6.6 -  1 =  7  -  1  =  6  ภาพ

20

การเกิดภาพบนกระจกโค้ง ชนิดของกระจกโค้ง กระจกนูน  กระจายแสง กระจกเว้า  รวมแสง

21

การสะท้อนของแสงจากกระจกเงาโค้ง กระจกเว้า แกนมุขสำคัญ วัตถุ ภาพ ระยะวัตถุ ระยะภาพ F C เมื่อวางวัตถุที่ระยะไกลกว่าจุดโฟกัส เกิดภาพจริง  หัวกลับ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ

22

การสะท้อนของแสงจากกระจกเงาโค้ง กระจกเว้า แกนมุขสำคัญ วัตถุ ภาพ ระยะวัตถุ ระยะภาพ F C เมื่อวางวัตถุที่ระยะใกล้กว่าจุดโฟกัส เกิดภาพเสมือนหัวตั้ง ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ

23

การสะท้อนของแสงจากกระจกเงาโค้ง กระจกนูน แกนมุขสำคัญ วัตถุ ภาพ F C ภาพที่เกิดเป็นภาพเสมือน  หัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ระยะวัตถุ ระยะภาพ เมื่อวางวัตถุที่ระยะไกลกว่าจุดโฟกัส

24

การสะท้อนของแสงจากกระจกเงาโค้ง กระจกนูน แกนมุขสำคัญ วัตถุ ภาพ F C ภาพที่เกิดเป็นภาพเสมือน  หัวตั้ง ขนาดเล็กกว่าวัตถุ ระยะวัตถุ ระยะภาพ เมื่อวางวัตถุที่ระยะใกล้กว่าจุดโฟกัส

25

การหาตำแหน่งและลักษณะภาพของกระจกโค้ง สูตร =   1  +  1 f   S  S m  =  S  =  I S   O

26

กระจกนูน  นำมาใช้โดยติดรถยนต์  รถจักยานยนต์ กระจกเว้า  นำมาใช้ประกอบกับกล้องจุลทรรศน์   ประโยชน์ของกระจกโค้ง

More Related Content

แสงกับการมองเห็น 11