Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
SlideShare a Scribd company logo
OUTLINE
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 20
Natural UnfoldmentMental Discipline
Apperception,
Herbartianism
CognitivismBehaviorism Humanism Electicism
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรม
(Behaviorism)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม หรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจ
(Cognitivism)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
(Humanism)
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มผสมผสาน
(Eclecticism)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism)
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
(Thorndike’s Classical Connectionism)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
(Conditioning Theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัล
(Hull’s systematic Behavior Theory)
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
(Thorndike’s Classical Connectionism)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
Edward Thorndike
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
(Thorndike’s Classical Connectionism)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ บุคคลจะมีการลองผิดลองถูก (trial
and error) ปรับเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะพบรูปแบบการตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึงพอใจมากที่สุด
กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
กฎแห่งความพร้อม
(Law of Readiness)
กฎแห่งการฝึกหัด
(Law of Exercise)
กฎแห่งการใช้
(Law of Use and Disuse)
กฎแห่งผลที่พึงพอใจ
(Law of Effect)
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
(Thorndike’s Classical Connectionism)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
การจัดการเรียนการสอน
1.การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนแบบลองผิดลองถูกบ้าง
2.การสํารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมของผู้เรียนเป็นสิ่งจําเป็นที่ ต้องกระทํา
ก่อนการสอนบทเรียน
3.หากต้องการให้ผู้เรียนมีทักษะในเรื่องใดจะต้องช่วยให้เขาเกิดความเข้าใจใน เรื่องนั้น
อย่างแท้จริง แล้วให้ฝึกฝนโดยกระทําสิ่งนั้นบ่อย ๆ
4.เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้วควรให้ผู้เรียนฝึกการนําการเรียนรู้นั้นไปใช้บ่อย ๆ
5.การให้ผู้เรียนได้รับผลที่ตนพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอนประสบผลสําเร็จ
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism)
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
(Thorndike’s Classical Connectionism)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
(Conditioning Theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัล
(Hull’s systematic Behavior Theory)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
(Conditioning Theory)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ (Classical Conditioning )
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน (Watson)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง (Contiguous Condition-ing)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ (Operant Condition-ing)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
(Classical Conditioning )
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
Ivan Pavlov
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
(Classical Conditioning )
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
(Classical Conditioning )
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
การเรียนรู้ของสุนัขเกิดจากการรู้จักเชื่อมโยงระหว่าง เสียงกระดิ่ง ผงเนื้อ
บด และพฤติกรรมนํ้าลายไหล พาฟลอฟจึงสรุปว่าการเรียนรู้ของ
สิ่งมีชีวิตเกิดจากการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข
(conditioned stimulus)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
(Classical Conditioning )
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
กฎการเรียนรู้ 10 ข้อของพาฟลอพ
1.พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์เกิดจากการวางเงื่อนไข ที่ตอบสนองต่อความต้องการทาง
ธรรมชาติ
2.พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์สามารถเกิดขึ้นได้จากสิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับ สิ่งเร้าตามธรรมชาติ
3.พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ที่เกิดจากสิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้า ตามธรรมชาติจะลดลงเรื่อย ๆ
และหยุดลงในที่สุดหากไม่ได้รับการตอบสนองตามธรรมชาติ
4.พฤติกรรมการตอบสนองของมนุษย์ต่อสิ่งเร้าที่เชื่อมโยงกับสิ่งเร้าตาม ธรรมชาติจะลดลงและหยุดไป
เมื่อไม่ได้รับการตอบสนองตามธรรมชาติและจะกลับปรากฏ ขึ้นได้อีกโดยไม่ต้องใช้สิ่งเร้าตามธรรมชาติ
5.มนุษย์มีแนวโน้มที่จะรับรู้สิ่งเร้าที่มีลักษณะคล้าย ๆ กันและจะตอบสนองเหมือน ๆ กัน
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
(Classical Conditioning )
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
กฎการเรียนรู้ 10 ข้อของพาฟลอพ
6.บุคคลมีแนวโน้มทีจะจําแนกลักษณะของสิ่งเร้าให้แตกต่างกันและเลือกตอบสนอง ได้ถูกต้อง
7.กฎแห่งการลดภาวะ (Law of Extinction) พาฟลอฟ กล่าวว่า ความเข้มของการตอบสนองจะ
ลดลงเรื่อย ๆ หากบุคคลได้รับแต่สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขอย่างเดียว หรือความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าที่วาง
เงื่อนไขกับสิ่งเร้าที่ไม่วาง เงื่อนไขห่างกันออกไปมากขึ้น
8.กฎแห่งการฟื้นคืนสภาพเดิมตามธรรมชาติ (Law of Spontaneous Recovery)
9.กฎแห่งการถ่ายโยงการเรียนรู้สู่สถานการณ์อื่น (Law of Generalization)
10.กฎแห่งการจําแนกความแตกต่าง(Law of Discrimination)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
(Classical Conditioning )
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
การจัดการเรียนการสอน
1.การนําความต้องการทางธรรมชาติของครูผู้สอนมาใช้เป็นสิ่งเร้า สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี
2.การสอนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในเรื่องใด อาจใช้วิธีเสนอสิ่งที่จะสอนไปพร้อม ๆ กัน กับสิ่งเร้าที่ผู้เรียนชอบ
ตามธรรมชาติ
3.การนําเรื่องที่เคยสอนไปแล้วมาสอนใหม่ สามารถช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้ตามที่ต้องการได้
4.การจัดกิจกรรมการเรียนให้ต่อเนื่องและมีลักษณะคล้ายคลึงกัน สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่ายขึ้น
5.การเสนอสิ่งเร้าให้ชัดเจนในการสอน จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และตอบสนองได้ชัดเจนขึ้น
6.หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมใด ควรมีการใช้สิ่งเร้าหลายแบบ แต่ต้องมีสิ่งเร้าที่มีการตอบสนองโดยไม่มี
เงื่อนไขควบคู่อยู่ด้วย
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
(Conditioning Theory)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ (Classical Conditioning )
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน (Watson)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง (Contiguous Condition-ing)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ (Operant Condition-ing)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
(Watson)
John B. Watson
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
(Watson)
ภาพการทดลองของ วัตสัน
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
(Watson)
กฎการเรียนรู้ของวัตสัน
1. พฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถควบคุมให้เกิดได้โดยการควบคุมสิ่ง
เร้าที่วางเงื่อนไขให้สัมพันธ์กับสิ่งเร้าตามธรรมชาติ และการเรียนรู้จะคงทน
ถาวรหากมีการให้สิ่งเร้าที่สัมพันธ์กันนั้นควบคู่กันไป อย่างสมํ่าเสมอ
2.เมื่อสามารถทําให้เกิดพฤติกรรมใดๆได้ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้น
ให้หายไปได้
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน
(Watson)
หลักการจัดการเรียนการสอน
1.ในการสร้างพฤติกรรรมอย่างใดอย่างหนึ่งให้เกิดขึ้นใน
ผู้เรียนควรพิจารณา สิ่งจูงใจหรือสิ่งเร้าที่เหมาะสมกับภูมิหลังและ
ความต้องการของผู้เรียนมาใช้เป็นสิ่งเร้าควบคู่ไปกับสิ่งเร้าที่วาง
เงื่อนไข
2. การลบพฤติกรรรมที่ไม่พึงปรารถนา สามารถทําได้โดย
หาสิ่งเร้าตามธรรมชาติที่ไม่ได้วางเงื่อนไขมาช่วย
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
(Conditioning Theory)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ (Classical Conditioning )
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน (Watson)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง (Contiguous Condition-ing)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ (Operant Condition-ing)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง
(Contiguous Condition-ing)
Edwin Ray Guthrie
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง
(Contiguous Condition-ing)
การทดลองของกัทธรี
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง
(Contiguous Condition-ing)
แมวใช้การกระทําครั้งสุดท้ายที่ประสบผลสําเร็จเป็นแบบแผนยึดไว้สําหรับการแก้ปัญหาครั้งต่อไป
และการเรียนรู้เมื่อเกิดขึ้นแล้วแม้เพียงครั้งเดียวก็นับได้ว่าเรียนรู้แล้ว ไม่จําเป็นต้องทําซํ้าอีก
กฎการเรียนรู้ของกัทธรี
กฎแห่งความต่อเนื่อง
(Law of Contiguity)
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้แม้เพียงครั้งเดียว
(One trial learning)
กฎของการกระทําครั้งสุดท้าย
(Low of Recency )
หลักการจูงใจ
(Motivation)
หลักการจัดการศึกษา/การสอน
ขณะสอน ในการสอน ในการจบบทเรียน การสร้างแรงจูงใจ
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
(Conditioning Theory)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอัตโนมัติ (Classical Conditioning )
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของวัตสัน (Watson)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบต่อเนื่อง (Contiguous Condition-ing)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์ (Operant Condition-ing)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์
(Operant Condition-ing)
B. F. Skinner
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์
(Operant Condition-ing)
สกิลเนอร์และการทดลอง
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์
(Operant Condition-ing)
กฎการเรียนรู้ของสกินเนอร์
1. การกระทําใดๆ ถ้าได้รับการเสริมแรง จะมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีก ส่วนการกระทําที่ไม่มี
การเสริมแรง แนวโน้มที่ความถี่ของการกระทํานั้นจะลดลงและหายไปใน
2. การเสริมแรงที่แปรเลี่ยนทําให้การตอบสนองคงทนกว่าการเสริมแงที่ตายตัว
3.การลงโทษทําให้เรียนรู้ได้เร็วและลืมเร็ว
4.การให้แรงเสริมหรือให้รางวัลเมื่ออินทรีย์กระทําพฤติกรรมที่ต้องการ สมารถช่วยปรับหรือ
ปลูกฝังนิสัยที่ต้องการได้
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบโอเปอร์แรนต์
(Operant Condition-ing)
การจัดการเรียนการสอน
1.ในการสอนการให้เสริมแรงหลังการตอบสนอง ที่เหมาะสมของเด็กจะช่วย
เพิ่มอัตราการตอบสนองที่เหมาะสมนั้น
2.การเว้นระยะการเสริมแรงอย่างไม่เป็นระบบ หรือเปลี่ยนรูปแบบการ
เสริมแรงจะช่วยให้การตอบสนองของผู้เรียนคงทนถาวร
3.การลงโทษที่รุนแรงเกินไปมีผลเสียมาก ผู้เรียนอาจไม่ได้เรียนรู้หรือจําสิ่งที่
เรียนได้เลย ควรใช้วีการงดการเสริมแรงเมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมไม่พึง
4.หากต้องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือปลูกฝังนิสัยให้แก่ผู้เรียน การ
แยกแยะขั้นตอนของปฎิกิริยาตอบสนองออกเป็นลําดับขั้น โดยพิจารณาให้เหมาะสม
กับความสามารถของผู้เรียน
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(Behaviorism)
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
(Thorndike’s Classical Connectionism)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
(Conditioning Theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัล
(Hull’s systematic Behavior Theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัล
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัล
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัล
(Hull’s systematic Behavior Theory)
Clark L. Hull
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัล
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัล
(Hull’s systematic Behavior Theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้
กฎแห่งสมรรถภาพในการตอบสนอง
(Law of Reactive In Hibition)
กฎแห่งการลําดับกลุ่มนิสัย
(Law of Habit Hierachy)
กฎแห่งการใกล้บรรลุเป้ าหมาย
(Goal Gradient Hypothesis)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัล
ทฤษฎีการเรียนรู้ของฮัล
(Hull’s systematic Behavior Theory)
การจัดการเรียนการสอน
1.ในการจัดการเรียนการสอน ควรคํานึงถึงความพร้อม ความสามารถและเวลาที่
ผู้เรียนจะเรียนได้ดีที่สุด
2. ผู้เรียนมีระดับของการแสดงออกไม่เท่ากัน ในการจัดการเรียนการสอน ควรให้
ทางเลือกที่หลากหลาย เพื่อผู้เรียนจะได้ตอบสนองตามระดับความสามารถของตน
3. การให้เสริมแรงในช่วงที่ใกล้เคียงกับเป้าหมายมากที่สุด จะช่วยทําให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้ได้ดี

More Related Content

2ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด