Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
SlideShare a Scribd company logo
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ลักษณะผลงานทางวิชาการ
ALLPPT.com _ Free Pow erPoint Templates, Diagrams and Charts
โครงการส่งเสริมศักยภาพและความก้าวหน้าทางวิชาการสาหรับบุคลากรสายผู้สอน
โครงการส่งเสริมศักยภาพและความก้าวหน้าทางวิชาการ
สาหรับบุคลากรสายผู้สอน
เรื่อง ลักษณะผลงานทางวิชาการ
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
ณ โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์กอล์ฟรีสอร์ท จ.นครปฐม
วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม 2560
ประเด็นสนทนา : ความก้าวหน้าทางวิชาการ
• ข้อบังคับ ประกาศ และกฎระเบียบการขอผลงาน
• ผลงานทางวิชาการตาม กพอ.3 (ระดับอุดมศึกษา)
• ลักษณะของผลงานวิชาการประเภทต่าง ๆ
• การเผยแพร่ผลงานระดับต่าง ๆ
• ฐานข้อมูลผลงานวิชาการระดับชาติ
• การเผยแพร่ข้อมูลระดับนานาชาติ
• ฐานข้อมูลระดับสากล
เอกสารการขอตาแหน่งวิชาการ
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรปริญญาตรี
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรบัณฑิตศึกษา
แนวทางการบริหารหลักสูตร
อุดมศึกษา
ผลงานทางวิชาการ (กพอ.3)
• ผลงานวิจัย
• ผลงานวิชาการรับใช้สังคม
• ผลงานวิชาการในลักษณะอื่น
• ผลงานแต่งหรือเรียบเรียง ตาราหรือหนังสือ
• ผลงานทางวิชาการทุกประเภท ให้เสนอโดยเขียนตามหลักของการเขียน
เอกสารอ้างอิง อันประกอบด้วยชื่อผู้แต่ง ปี พ.ศ. ชื่อเรื่อง แหล่งพิมพ์
จานวนหน้า เป็นต้น
• ในกรณีที่มีผู้เขียนร่วมหลายคน ให้ผู้เขียนร่วมส่งหลักฐานรับรองว่า มี
ส่วนร่วมในผลงานเท่าใดมาประกอบการพิจารณาด้วย
เอกสารประกอบการสอน (ผศ.)
เอกสารคาสอน (รศ.,ศ.)
ผลงานวิจัย
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
ผลงานแต่ง-เรียบเรียงตาราหรือหนังสือ
แบบแสดงหลักฐานการมีส่วนร่วม
ระดับขั้นผลงานตีพิมพ์
การนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและระดับนานาชาติ
ขั้นที่ 1 สามารถเขียนบทความวิชาการลงพิมพ์ในวารสารระดับประเทศ
ขั้นที่ 2 สามารถเขียนบทความวิจัยเข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับประเทศ
ขั้นที่ 3 สามารถเขียนบทความวิจัยลงพิมพ์ในวารสารระดับประเทศ
ขั้นที่ 4 สามารถเขียนบทความวิจัยเข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ขั้นที่ 5 สามารถเขียนบทความวิจัยลงพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ
ขั้นที่ 6 สามารถเขียนบทความวิจัยลงพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่
ฐานข้อมูลสากล
องค์ประกอบของบทความวิชากร
ความแตกต่างระหว่างบทความวิชาการกับบทความวิจัย คือ บทความ
วิชาการไม่ต้องมีบทคัดย่อ ไม่มีวัตถุประสงค์การวิจัย ไม่มีวิธีการวิจัย ไม่มี
ผลการวิจัยและอภิปรายผล เป็ นผลงานทางวิชาการที่เขียนเผยแพร่องค์
ความรู้ สาระประโยชน์ทางวิชาการ ในสาขาใดสาขาหนึ่ง
ชื่อเรื่อง
บทนา
หัวข้อหลัก >> หัวข้อหลัก >> หัวข้อหลัก >>
บทสรุป
รายการอ้างอิง
องค์ประกอบของบทความวิจัย
Topic
Abstracts
Introduction
Objective
Methods
Research Methods
Results
Discussion
Conclusion
References
ชื่อเรื่อง
บทคัดย่อ
บทนา
วัตถุประสงค์การวิจัย
ขอบเขตการวิจัย
วิธีการวิจัย
ผลการวิจัย
อภิปรายผล
บทสรุป
รายการอ้างอิง
บทความวิชาการ : วารสารภาษาไทย TCI
บทความวิชาการ : นานาชาติ
บทความวิจัย : การประชุมวิชาการ
บทความวิจัย : International Conference
บทความวิจัย : International Journal
บทความวิจัย : ฐานข้อมูลสากล - DOI
ตารา
ผลงานทางวิชาการที่แต่งและเรียบเรียงขึ้น ตามเนื้อหา
รายวิชาตามหลักสูตรในสาขาวิชา จัดพิมพ์โดยสานักพิมพ์
หนังสือ
ผลงานทางวิชาการที่เรียบเรียงขึ้น สร้างเสริมปัญญาและ
ความคิด สร้างความเข้มแข็งให้กับสาขาวิชา ไม่ต้อง
เป็นไปตามหลักสูตรหรือรายวิชา
งานแปล
ผลงานทางวิชาการที่แปลงานต้นแบบที่สาคัญและทรงคุณค่าในสาขา
นั้น ๆ โดยแปลภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทย หรือแปลภาษาไทย
เป็ นภาษาต่ างปร ะเทศ หรื อภาษาต่ างประ เทศไปเป็ น
ภาษาต่างประเทศอีกภาษาหนึ่ง
งานสร้างสรรค์
สารานุกรม
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ที่เรียบเรียงคาสาคัญ
ต่าง ๆ ในสาขาวิชามาอธิบายจัดหมวดหมู่และให้
ความหมาย แสดงในลักษณะภาพและข้อความ
พจนานุกรม
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น ที่รวบรวมคาศัพท์เฉพาะใน
สาขาวิชา พร้อมคาอธิบายความหมายที่ถูกต้อง
การเผยแพร่ผลงาน ThaiJo
การนาเสนอโปสเตอร์
วารสารวิชาการระดับประเทศ
บทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับประเทศ
บทความวิจัยลงพิมพ์ในวารสารระดับประเทศ TCI
บทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
บทความวิจัยวารสารระดับ
นานาชาติ
Beall’s List
ฐานข้อมูลสากล สกอ.
ฐานข้อมูล สกอ.
• SCOPUS / ScienceDirect -- > Elsevier
• ISI - Web of Knowledge
• ACM / Emerald
• SPRINGERLINK
• PROQUEST
• Taylor & Francis
• Wiley (John Wiley & Sons)
• ERIC / IEEE /
• ……..
Web of Knowledge
- Thomson Reuters
SCOPUS
KMUTNB in SCOPUS
Science Direct
http://www.sciencedirect.com/
science/journals/
FEE
$3100
International
Journal of
Human
Computer
Studies
SCImago Journal & Country Rank
Q1-Q4 SCImago
Google Scholar
Google Scholar Matrix
ขั้นตอนการลงพิมพ์บทความระดับโลก
ขั้นที่ 1 เข้าสู่ฐานข้อมูล SCOPUS
http://www.scopus.com
ขั้นที่ 2 เลือกวารสารที่อยู่ในฐานข้อมูล
ขั้นที่ 3 ตรวจสอบรายชื่อวารสารและระดับ Q1-Q4 ที่ SCImago
http://www.scimagojr.com/journalsearch.php
ขั้นที่ 4 ตรวจสอบรายชื่อระดับ Impact factor ของวารสารที่
Google Scholar คลิกเลือก Matrix
http://scholar.google.co.th/
ขั้นที่ 5 คลิกเลือกชื่อวารสารไปยังเว็บไซต์เพื่อดูค่าพิมพ์
การคัดลอกผลงาน
บทสรุป
ลักษณะผลงานทางวิชาการมีหลากหลายประการ ผู้
เป็ นอาจารย์มหาวิทยาลัยสามารถเลือกสร้างสรรค์
ผลงานตามลักษณะที่ตนเองถนัด หัวใจสาคัญ
ทั้งหมดของผลงานวิชาการไม่ใช่เพื่อความก้าวหน้า
ของตัวอาจารย์ แต่เป็ นผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่
เจริญก้าวหน้าทางวิชาการอันเกิดจากสิ่งที่อาจารย์ได้
มุ่งมั่นจัดทาผลงานวิชาการนั้น ส่วนตาแหน่งทาง
วิชาการเป็ นเพียงแค่ผลพลอยได้จากการพัฒนา
ผู้เรียน คิดเช่นนี้ท่านจะเจริญในหน้าที่อาจารย์
คาถาม
วิทยากร
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
prachyanun@hotmail.com
http://www.prachyanun.com 081-7037515
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
prachyanun@hotmail.com
http://www.prachyanun.com 081-7037515

More Related Content

ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#2