Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
SlideShare a Scribd company logo

1

โครงการสอน 
รายวิชา …... ฟิสิกส์เพิ่มเติม 5….. (ของไหล ความร้อน ฟิสิกส์อะตอมและนิวเคลียร์) รหัส ....ว 33202… จานวน …. 1.5…. หน่วยการเรียน 
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ……6…… สอนโดย ….นายสมพร เหล่าทองสาร…. 
ภาคเรียนที่ …..2……. ปีการศึกษา …..2557……. 
1. คาอธิบายรายวิชา 
ศึกษาความดันในของไหลและกฎของพาสคัล แรงพยุงและหลักของอาร์คีมีดิส ความตึงผิว การเคลื่อนที่ในของไหลและหลักแบร์นูลลี ความร้อน การเปลี่ยนสถานะของสาร ทฤษฎีจนล์ของแก๊ส กฎของแก๊สและพลังงานภายในระบบของแก๊ส การค้นพบอิเล็กตรอน แนวคิดเกี่ยวกับแบบจาลองอะตอม สมมติฐานของพลังค์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี การสลายกัมมันตรังสี ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ รังสีในธรรมชาต การป้องกันอันตรายและการ ใช้ประโยชน์จากกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้น ข้อมูล การสารวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด มีความสามารถในการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ การ ตัดสินใจ การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และ ค่านิยมที่เหมาะสม 
2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 
เมื่อเรียนจบวิชา ว 33202 นี้แล้ว นักเรียนสามารถ 
1. อธิบายความดัน และหลักการของเครื่องวัดความดันได้ 
2. อธิบายหลักอาร์คีมีดิส และนาไปใช้อธิบายเกี่ยวกับการลอยของวัตถุในของไหลได้ 
3. อธิบายความตึงผิวของของเหลว ความหนืดในของเหลว การไหลของของไหลในอุดมคติ ซึ่ง เป็นไปตามกฏการอนุรักษ์พลังงานได้ 
4. อธิบายผลของความร้อนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและสถานะของสารได้ 
5. อธิบายแก๊สอุดมคติ กฎของแก๊ส และใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอธิบายสมบัติทางกายภาพของแก๊สได้ 
6. อธิบายพลังงานภายในระบบ ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานและความร้อน งานที่ระบบทาหรือรับ จากสิ่งแวดล้อมได้ 
7. อธิบายการค้นพบอิเล็กตรอน โครงสร้างอะตอมตามแบบจาลองอะตอมของทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด 
8. อธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎีอะตอมของไฮโดรเจนของโบร์ และระดับพลังงานของอะตอม 
9. อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก สมมติฐานของเดอบรอยล์ ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค และ โครงสร้างอะตอมตามทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัมได้

2

10. อธิบายกัมมันตภาพรังสี และการเปลี่ยนแปลงสภาพนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีได้ 
11. อธิบายไอโซโทป แรงนิวเคลียร์ พลังงานยึดเหนี่ยว และเสถียรภาพของนิวเคลียสได้ 
12. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์รวมถึงการใช้ประโยชน์ และการป้องกันอันตรายจาก กัมมันตภาพรังสีได้ 
3. หน่วยการเรียนรู้ 
วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 5 รหัส ว 33202 รายวิชาของไหล ความร้อน ฟิสิกส์อะตอมและนิวเคลียร์ 
หน่วยการเรียนรู้ 1.5 หน่วย เวลา 60 ชั่วโมง 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 
หน่วยการเรียนรู้ 
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 
เวลา (ชั่วโมง) 
1 
ของไหล 
 ความหนาแน่น 
 ความดันในของไหล กฏของพาสคัล 
 แรงพยุง หลักของอาร์คีมีดิส 
 ความตึงผิว ความหนืด 
 พลศาสตร์ของของไหล 
15 
2 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 
 ความร้อน กับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและ สถานะของสาร 
 กฎของบอยล์ กฎของชาร์ล และกฏของ แก๊สอุดมคติ 
 ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 
 พลังงานภายในระบบ 
 การประยุกต์ความรู้ในเรื่องเครื่องยนต์และ ความดันไอ 
15

3

หน่วยการเรียนรู้ 
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 
เวลา (ชั่วโมง) 
3 
ฟิสิกส์อะตอม 
 อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน 
 แบบจาลองอะตอมของทอมสันและ รัทเทอร์ฟอร์ด 
 สเปกตรัมของไฮโดรเจน 
 ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ระดับพลังงาน ของอะตอม 
 ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค 
 กลศาสตร์ควันตัม 
15 
4 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 
 การค้นพบกัมมันตภาพรังสี 
 การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส 
 การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี 
 ไอโซโทป 
 เสถียรภาพของนิวเคลียส 
 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ 
 ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและ พลังงานนิวเคลียร์ 
 รังสีในธรรมชาติ อันตรายจากรังสีและการ ป้องกัน 
15

4

4. กิจกรรมการเรียนการสอน 
1. การบรรยายจากครูผู้สอน 
2. การสาธิตและทดลองประกอบเนื้อหา 
3. การอภิปรายหัวข้อสาคัญ 
4. การทารายงานเดี่ยว / กลุ่ม 
5. การทดสอบประเมินความรู้ 
5. อัตราส่วนคะแนน 
ลาดับ 
การวัดผล 
คะแนน 
1 
วัดผลการเรียนรู้ก่อนกลางภาคเรียน 
25 
2 
วัดผลการเรียนรู้กลางภาคเรียน 
20 
3 
วัดผลการเรียนรู้หลังกลางภาคเรียน 
25 
4 
วัดผลการเรียนรู้ปลายภาคเรียน 
30 
รวม 
100 
6. การประเมินผล 
ลาดับ 
พฤติกรรมสาหรับการวัดและประเมินผล 
การวัด 
1 
เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน และมีพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ 
10 % 
2 
ทากิจกรรมการทดลองด้วยความสนใจ 
10 % 
3 
การทาแบบฝึกหัด 
20 % 
4 
การทารายงาน 
10 % 
5 
การทดสอบรายผลการเรียนรู้ 
50 % 
รวม 
100 %

5

7. เอกสารที่เกี่ยวข้อง / หนังสือประกอบ / แหล่งเรียนรู้ 
1. หนังสือแบบเรียน สสวท. วิชา ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม เล่ม 5 
2. หนังสือแบบเรียน แม็ค วิชา ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม เล่ม 5 
3. คู่มือวิชาฟิสิกส์ Hi-Ed รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม เล่ม 5 
4. คู่มือครูวิชาฟิสิกส์ สสวท. วิชา ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม เล่ม 5 
5. แบบฝึกทักษะ/กิจกรรม 
6. ห้องสมุด 
7. อินเตอร์เน็ต

More Related Content

Courseoutlinephysicsm6t2p57

  • 1. โครงการสอน รายวิชา …... ฟิสิกส์เพิ่มเติม 5….. (ของไหล ความร้อน ฟิสิกส์อะตอมและนิวเคลียร์) รหัส ....ว 33202… จานวน …. 1.5…. หน่วยการเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ……6…… สอนโดย ….นายสมพร เหล่าทองสาร…. ภาคเรียนที่ …..2……. ปีการศึกษา …..2557……. 1. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาความดันในของไหลและกฎของพาสคัล แรงพยุงและหลักของอาร์คีมีดิส ความตึงผิว การเคลื่อนที่ในของไหลและหลักแบร์นูลลี ความร้อน การเปลี่ยนสถานะของสาร ทฤษฎีจนล์ของแก๊ส กฎของแก๊สและพลังงานภายในระบบของแก๊ส การค้นพบอิเล็กตรอน แนวคิดเกี่ยวกับแบบจาลองอะตอม สมมติฐานของพลังค์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี การสลายกัมมันตรังสี ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ รังสีในธรรมชาต การป้องกันอันตรายและการ ใช้ประโยชน์จากกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบค้น ข้อมูล การสารวจตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด มีความสามารถในการสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ การ ตัดสินใจ การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และ ค่านิยมที่เหมาะสม 2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เมื่อเรียนจบวิชา ว 33202 นี้แล้ว นักเรียนสามารถ 1. อธิบายความดัน และหลักการของเครื่องวัดความดันได้ 2. อธิบายหลักอาร์คีมีดิส และนาไปใช้อธิบายเกี่ยวกับการลอยของวัตถุในของไหลได้ 3. อธิบายความตึงผิวของของเหลว ความหนืดในของเหลว การไหลของของไหลในอุดมคติ ซึ่ง เป็นไปตามกฏการอนุรักษ์พลังงานได้ 4. อธิบายผลของความร้อนที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและสถานะของสารได้ 5. อธิบายแก๊สอุดมคติ กฎของแก๊ส และใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอธิบายสมบัติทางกายภาพของแก๊สได้ 6. อธิบายพลังงานภายในระบบ ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานและความร้อน งานที่ระบบทาหรือรับ จากสิ่งแวดล้อมได้ 7. อธิบายการค้นพบอิเล็กตรอน โครงสร้างอะตอมตามแบบจาลองอะตอมของทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด 8. อธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎีอะตอมของไฮโดรเจนของโบร์ และระดับพลังงานของอะตอม 9. อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก สมมติฐานของเดอบรอยล์ ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค และ โครงสร้างอะตอมตามทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัมได้
  • 2. 10. อธิบายกัมมันตภาพรังสี และการเปลี่ยนแปลงสภาพนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีได้ 11. อธิบายไอโซโทป แรงนิวเคลียร์ พลังงานยึดเหนี่ยว และเสถียรภาพของนิวเคลียสได้ 12. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์รวมถึงการใช้ประโยชน์ และการป้องกันอันตรายจาก กัมมันตภาพรังสีได้ 3. หน่วยการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์เพิ่มเติม 5 รหัส ว 33202 รายวิชาของไหล ความร้อน ฟิสิกส์อะตอมและนิวเคลียร์ หน่วยการเรียนรู้ 1.5 หน่วย เวลา 60 ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) 1 ของไหล  ความหนาแน่น  ความดันในของไหล กฏของพาสคัล  แรงพยุง หลักของอาร์คีมีดิส  ความตึงผิว ความหนืด  พลศาสตร์ของของไหล 15 2 ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส  ความร้อน กับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและ สถานะของสาร  กฎของบอยล์ กฎของชาร์ล และกฏของ แก๊สอุดมคติ  ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส  พลังงานภายในระบบ  การประยุกต์ความรู้ในเรื่องเครื่องยนต์และ ความดันไอ 15
  • 3. หน่วยการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) 3 ฟิสิกส์อะตอม  อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน  แบบจาลองอะตอมของทอมสันและ รัทเทอร์ฟอร์ด  สเปกตรัมของไฮโดรเจน  ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ระดับพลังงาน ของอะตอม  ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค  กลศาสตร์ควันตัม 15 4 ฟิสิกส์นิวเคลียร์  การค้นพบกัมมันตภาพรังสี  การเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส  การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี  ไอโซโทป  เสถียรภาพของนิวเคลียส  ปฏิกิริยานิวเคลียร์  ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและ พลังงานนิวเคลียร์  รังสีในธรรมชาติ อันตรายจากรังสีและการ ป้องกัน 15
  • 4. 4. กิจกรรมการเรียนการสอน 1. การบรรยายจากครูผู้สอน 2. การสาธิตและทดลองประกอบเนื้อหา 3. การอภิปรายหัวข้อสาคัญ 4. การทารายงานเดี่ยว / กลุ่ม 5. การทดสอบประเมินความรู้ 5. อัตราส่วนคะแนน ลาดับ การวัดผล คะแนน 1 วัดผลการเรียนรู้ก่อนกลางภาคเรียน 25 2 วัดผลการเรียนรู้กลางภาคเรียน 20 3 วัดผลการเรียนรู้หลังกลางภาคเรียน 25 4 วัดผลการเรียนรู้ปลายภาคเรียน 30 รวม 100 6. การประเมินผล ลาดับ พฤติกรรมสาหรับการวัดและประเมินผล การวัด 1 เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน และมีพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ 10 % 2 ทากิจกรรมการทดลองด้วยความสนใจ 10 % 3 การทาแบบฝึกหัด 20 % 4 การทารายงาน 10 % 5 การทดสอบรายผลการเรียนรู้ 50 % รวม 100 %
  • 5. 7. เอกสารที่เกี่ยวข้อง / หนังสือประกอบ / แหล่งเรียนรู้ 1. หนังสือแบบเรียน สสวท. วิชา ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม เล่ม 5 2. หนังสือแบบเรียน แม็ค วิชา ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม เล่ม 5 3. คู่มือวิชาฟิสิกส์ Hi-Ed รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม เล่ม 5 4. คู่มือครูวิชาฟิสิกส์ สสวท. วิชา ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม เล่ม 5 5. แบบฝึกทักษะ/กิจกรรม 6. ห้องสมุด 7. อินเตอร์เน็ต