Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
SlideShare a Scribd company logo
วิจัยในชั้นเรียน

ชื่อเรื่อง    การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้สู่งานอาชีพโดยใช้โครงงานเป็นฐาน
กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ผู้วิจัย      นางกิติยา ทามาน วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียนอนุบาลนครพนม อ.เมือง จ.นครพนม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1
ปีที่ทาการวิจัย 2553
………………………………………………………………………………………………………………………………..
1. แนวคิดความเป็นมา

            หลักสูตรแกนกลางศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มี
ความสมดุลทั้งร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในการเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติ
ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐาน
ความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
           การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ เน้นให้นักเรียน
ได้คิด ค้นคว้าหาความรู้และลงมือปฏิบัติหรือกระทาจริงทุกขั้นตอน จนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง การพัฒนาครู
เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ เป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมและพัฒนาครูให้มี
ความรู้ความสามารถในการวางแผนจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนเป็นคนดี คนเก่ง และเป็นคนที่อยู่ในสังคม
ได้อย่างมีความสุข การจัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญมีหลายรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนรู้
แบบโครงงาน เป็นการจัดการเรียนรู้อีกรูปแบบหนึ่งที่เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะการวิจัย
สารวจ ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น โดยมีครูเป็นผู้คอยให้คาแนะนาและให้คาปรึกษาอย่างใกล้ชิด ดังนั้นการเรียนรู้
แบบโครงงานจึงเป็นสะพานเชื่อมโยงระหว่างห้องเรียนกับโลกภายนอกที่จะช่วยให้นักเรียนได้นาความรู้
ในชั้นเรียนไปบูรณาการกับกิจกรรมที่จะกระทา เพื่อนาไปสู่ความรู้ใหม่ๆ ด้วยการสร้างความหมาย การ
แก้ปัญหาและการค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง ดังนั้น การสอนแบบโครงงานจึงเป็นการสอนที่ให้นักเรียนได้
รู้จักวิธีทาโครงงานวิจัยเล็กๆ (Mini Research) ที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติเพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะและการ
สร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ จุดประสงค์หลักของการสอนแบบโครงงาน เพื่อต้องการกระตุ้นให้นักเรียนรู้จักสังเกต
รู้จักตั้งคาถาม รู้จักตั้งสมมุติฐาน รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเองเพื่อหาคาตอบที่ตนอยากรู้ รู้จักสรุปและทา
ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ค้นพบ (สุพล วังสิทธ์. 2543 : 11)
2. วัตถุประสงค์
      1. เพื่อยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้น ป. 6 ให้สูงขึ้น
      2. เพื่อการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
อนุบาลนครพนม อาเภอเมือง จังหวัดนครพนม โดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงาน
      3. เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของอาชีพสุจริตและเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต

3. แนวคิด ทฤษฎีที่ใช้
       กระบวนการจัดการเรียนรู้สู่งานอาชีพโดยใช้โครงงานเป็นฐาน ใช้หลักการตามแนวคิดของ John
Dewey, Kemmis และ MC Taggart (Kemmis and MC Taggart, 1988 : 11 - 15) และเป็นการเรียนรู้ที่
เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของบลูม (Bloom) ทั้ง 6 ขั้น กล่าวคือ
          - ความรู้ความจา (Knowledge)
          - ความเข้าใจ (Compre hension)
          - การนาไปใช้ (Application)
          - การวิเคราะห์ (Analysis)
          - การสังเคราะห์ (Synthesis)
          - การประเมินค่า (Evaluation)
        และยังเป็นกระบวนการเรียนรู้ตั้งแต่การวางแผนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ การสร้างสรรค์
ประยุกต์ใช้ผลผลิต และการประเมินผลงานโดยมีผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้จัดการเรียนรู้มาใช้ในการจัดการเรียน
การสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้กานงานอาชีพและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานได้
ดาเนินการ 2 วงรอบ ในแต่ละวงรอบประกอบด้วย 4 ขั้นตอนดังนี้
            1) ขั้นการวางแผน (Planning)
            2) ขั้นปฏิบัติงาน (Action)
            3) ขั้นการสังเกต (Observation)
            4) ขั้นการสะท้อนผล (Reflection) (สุวิมล ว่องวานิช. 2544 : 13)
4. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การปรับประยุกต์ ดัดแปลง
           คิดค้นกระบวนการจัดการเรียนรู้สู่งานอาชีพโดยใช้โครงงานเป็นฐาน เป็นการออกแบบกระบวนการ
     จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเข้ากับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดริเริ่มสร้างสรรค์
     และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของ บลูม (Bloom) ทั้ง 6 ขั้น
                - ความรู้ความจา (Knowledge)
               - ความเข้าใจ (Compre hension)
               - การนาไปใช้ (Application)
               - การวิเคราะห์ (Analysis)
               - การสังเคราะห์ (Synthesis)
               - การประเมินค่า (Evaluation)
            โดยมีขั้นตอนการดาเนินงาน 4 ขั้นตอน ดังนี้
               1) ขั้นการวางแผน (Planning)
               2) ขั้นการปฏิบัติ (Action)
               3) การสังเกต (Observation)
               4) ขั้นการสะท้อนผล (Reflection) (สุวิมล ว่องวานิช. 2544 : 13)

                                       กรอบการจัดการเรียนรู้สู่งานอาชีพโดยใช้โครงงานเป็นฐาน

           กระบวนการเรียนรู้                         โครงงานอาชีพ                            เป้าหมาย

1.   1. ความรูความจา (Knowledge)
               ้                             1.การประกอบอาหารพื้นบ้าน            1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2.   2. ความเข้าใจ (Comprehension)             จังหวัดนครพนม                         ให้สูงขึ้น
3.   3. การนาไปใช้ (Application)             2.การแปรรูปอาหาร สูตรสมุนไพรเพื่อ   2. พัฒนาทักษะกระบวนการคิด
4.   4. การวิเคราะห์ (Analysis)              สุขภาพจากพืชผักผลไม้ในท้องถิ่น          วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์
5.   5. การสังเคราะห์ (Synthesis)            3.ขนมไทยสูตรสมุนไพรในท้องถิ่น       3. เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริตและเห็น
6.   6. การประเมินค่า (Evaluation)           ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง         แนวทางในการประกอบอาชีพ
7.                                                                                   ในอนาคต
             ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1.   1. ขั้นการวางแผน (Planning)
2.   2. ขั้นการปฏิบติ (Action)
                    ั
3.   3. ขั้นการสังเกต (Observation)
4.   4. ขั้นการสะท้อนผล (Reflection)
5. กระบวนการพัฒนา/ขั้นตอน
            5.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา 6/1 – 6/5 โรงเรียนอนุบาลนครพนม
ปีการศึกษา 2553 จานวน 193 คน
            5.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนอนุบาลนครพนม
ปีการศึกษา 2553 จานวน 42 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (บุญชม ศรีสะอาด, 2546 : 43)
            5.3 ตัวแปรที่ศึกษา
                     5.3.1 ตัวแปรต้น คือ กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน
                     5.3.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                     5.3.3 แนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
            5.4 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา ตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม 2553 ถึง วันที่ 31 มีนาคม 2554
            5.5 กรอบเนื้อหาการพัฒนานักเรียน
                 5.5.1 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบ ประเภทของโครงงาน
                 5.5.2 ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน
            5.6 กลยุทธ์การพัฒนา การศึกษาครั้งนี้ได้จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักเรียนในการเรียนรู้ โดยใช้
กิจกรรมโครงงาน โดยมีกุลยุทธ์ดาเนินการดังนั้น
                 5.6.1 การศึกษาเอกสาร การพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน
                 5.6.2 การศึกษาดูงาน โรงเรียนต้นแบบจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน
                 5.6.3 การปฏิบัติการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน
                 5.6.4 การแลกเปลี่ยนความรู้
           5.7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
                 5.7.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                 5.7.2 แบบทดสอบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์
                 5.7.3 แบบสอบถาม
           5.8 วิธีการวิจัย
                 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยใช้หลักการตามแนวคิดของ
John Dewey, Kemmis และ MC Taggart (Kemmis and MC Taggart, 1988 : 11 - 15) และเป็นการ
เรียนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของ บลูม (Bloom) ทั้ง 6 ขั้น เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้
โครงงานได้ดาเนินการ 2 วงรอบ ในแต่ละวงรอบประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นการวางแผน (Planning)
2) ขั้นการปฏิบัติ (Action) 3) ขั้นการสังเกต (Observation) 4) ขั้นการสะท้อนผล (Reflection)
(สุวิมล ว่องวานิช. 2544 : 13)
            5.9 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
6. ผลการดาเนินงาน
       1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (93.26) สูงขึ้น
       2. ผู้เรียนมีพัฒนาด้านทักษะการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์สูงขึ้นเมื่อใช้กระบวนการเรียนรู้
แบบโครงงาน
       3. ผู้เรียนเห็นคุณค่าของอาชีพสุจริตและเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตอยู่ในระดับ
ดีมาก

7. การเผยแพร่ผลงาน
       7.1 จัดนิทรรศการนาเสนอผลงาน
       7.2 แผ่นพับ
       7.3 Email : kitiyat8@gmail.com
วิจัยในชั้นเรียน
 เรื่อง การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้
      สู่งานอาชีพโดยใช้โครงงานเป็นฐาน
   กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี




              ผู้วิจัย นางกิติยา ทามาน
      ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
     โรงเรียนอนุบาลนครพนม อ.เมือง จ.นครพนม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1
                  กระทรวงศึกษาธิการ
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน

More Related Content

วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน

  • 1. วิจัยในชั้นเรียน ชื่อเรื่อง การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้สู่งานอาชีพโดยใช้โครงงานเป็นฐาน กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ผู้วิจัย นางกิติยา ทามาน วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนอนุบาลนครพนม อ.เมือง จ.นครพนม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 ปีที่ทาการวิจัย 2553 ……………………………………………………………………………………………………………………………….. 1. แนวคิดความเป็นมา หลักสูตรแกนกลางศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มี ความสมดุลทั้งร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในการเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติ ที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐาน ความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ เน้นให้นักเรียน ได้คิด ค้นคว้าหาความรู้และลงมือปฏิบัติหรือกระทาจริงทุกขั้นตอน จนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง การพัฒนาครู เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ เป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมและพัฒนาครูให้มี ความรู้ความสามารถในการวางแผนจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนเป็นคนดี คนเก่ง และเป็นคนที่อยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข การจัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญมีหลายรูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเรียนรู้ แบบโครงงาน เป็นการจัดการเรียนรู้อีกรูปแบบหนึ่งที่เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะการวิจัย สารวจ ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น โดยมีครูเป็นผู้คอยให้คาแนะนาและให้คาปรึกษาอย่างใกล้ชิด ดังนั้นการเรียนรู้ แบบโครงงานจึงเป็นสะพานเชื่อมโยงระหว่างห้องเรียนกับโลกภายนอกที่จะช่วยให้นักเรียนได้นาความรู้ ในชั้นเรียนไปบูรณาการกับกิจกรรมที่จะกระทา เพื่อนาไปสู่ความรู้ใหม่ๆ ด้วยการสร้างความหมาย การ แก้ปัญหาและการค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง ดังนั้น การสอนแบบโครงงานจึงเป็นการสอนที่ให้นักเรียนได้ รู้จักวิธีทาโครงงานวิจัยเล็กๆ (Mini Research) ที่นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติเพื่อพัฒนาความรู้ ทักษะและการ สร้างผลผลิตที่มีคุณภาพ จุดประสงค์หลักของการสอนแบบโครงงาน เพื่อต้องการกระตุ้นให้นักเรียนรู้จักสังเกต รู้จักตั้งคาถาม รู้จักตั้งสมมุติฐาน รู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเองเพื่อหาคาตอบที่ตนอยากรู้ รู้จักสรุปและทา ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ค้นพบ (สุพล วังสิทธ์. 2543 : 11)
  • 2. 2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้น ป. 6 ให้สูงขึ้น 2. เพื่อการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน อนุบาลนครพนม อาเภอเมือง จังหวัดนครพนม โดยใช้การเรียนรู้แบบโครงงาน 3. เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของอาชีพสุจริตและเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต 3. แนวคิด ทฤษฎีที่ใช้ กระบวนการจัดการเรียนรู้สู่งานอาชีพโดยใช้โครงงานเป็นฐาน ใช้หลักการตามแนวคิดของ John Dewey, Kemmis และ MC Taggart (Kemmis and MC Taggart, 1988 : 11 - 15) และเป็นการเรียนรู้ที่ เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของบลูม (Bloom) ทั้ง 6 ขั้น กล่าวคือ - ความรู้ความจา (Knowledge) - ความเข้าใจ (Compre hension) - การนาไปใช้ (Application) - การวิเคราะห์ (Analysis) - การสังเคราะห์ (Synthesis) - การประเมินค่า (Evaluation) และยังเป็นกระบวนการเรียนรู้ตั้งแต่การวางแผนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ การสร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้ผลผลิต และการประเมินผลงานโดยมีผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้จัดการเรียนรู้มาใช้ในการจัดการเรียน การสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้กานงานอาชีพและเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานได้ ดาเนินการ 2 วงรอบ ในแต่ละวงรอบประกอบด้วย 4 ขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นการวางแผน (Planning) 2) ขั้นปฏิบัติงาน (Action) 3) ขั้นการสังเกต (Observation) 4) ขั้นการสะท้อนผล (Reflection) (สุวิมล ว่องวานิช. 2544 : 13)
  • 3. 4. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การปรับประยุกต์ ดัดแปลง คิดค้นกระบวนการจัดการเรียนรู้สู่งานอาชีพโดยใช้โครงงานเป็นฐาน เป็นการออกแบบกระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเข้ากับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ และเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของ บลูม (Bloom) ทั้ง 6 ขั้น - ความรู้ความจา (Knowledge) - ความเข้าใจ (Compre hension) - การนาไปใช้ (Application) - การวิเคราะห์ (Analysis) - การสังเคราะห์ (Synthesis) - การประเมินค่า (Evaluation) โดยมีขั้นตอนการดาเนินงาน 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นการวางแผน (Planning) 2) ขั้นการปฏิบัติ (Action) 3) การสังเกต (Observation) 4) ขั้นการสะท้อนผล (Reflection) (สุวิมล ว่องวานิช. 2544 : 13) กรอบการจัดการเรียนรู้สู่งานอาชีพโดยใช้โครงงานเป็นฐาน กระบวนการเรียนรู้ โครงงานอาชีพ เป้าหมาย 1. 1. ความรูความจา (Knowledge) ้ 1.การประกอบอาหารพื้นบ้าน 1. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. 2. ความเข้าใจ (Comprehension) จังหวัดนครพนม ให้สูงขึ้น 3. 3. การนาไปใช้ (Application) 2.การแปรรูปอาหาร สูตรสมุนไพรเพื่อ 2. พัฒนาทักษะกระบวนการคิด 4. 4. การวิเคราะห์ (Analysis) สุขภาพจากพืชผักผลไม้ในท้องถิ่น วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ 5. 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 3.ขนมไทยสูตรสมุนไพรในท้องถิ่น 3. เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริตและเห็น 6. 6. การประเมินค่า (Evaluation) ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางในการประกอบอาชีพ 7. ในอนาคต ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. 1. ขั้นการวางแผน (Planning) 2. 2. ขั้นการปฏิบติ (Action) ั 3. 3. ขั้นการสังเกต (Observation) 4. 4. ขั้นการสะท้อนผล (Reflection)
  • 4. 5. กระบวนการพัฒนา/ขั้นตอน 5.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา 6/1 – 6/5 โรงเรียนอนุบาลนครพนม ปีการศึกษา 2553 จานวน 193 คน 5.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนอนุบาลนครพนม ปีการศึกษา 2553 จานวน 42 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (บุญชม ศรีสะอาด, 2546 : 43) 5.3 ตัวแปรที่ศึกษา 5.3.1 ตัวแปรต้น คือ กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน 5.3.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5.3.3 แนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต 5.4 ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา ตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม 2553 ถึง วันที่ 31 มีนาคม 2554 5.5 กรอบเนื้อหาการพัฒนานักเรียน 5.5.1 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบ ประเภทของโครงงาน 5.5.2 ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน 5.6 กลยุทธ์การพัฒนา การศึกษาครั้งนี้ได้จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนานักเรียนในการเรียนรู้ โดยใช้ กิจกรรมโครงงาน โดยมีกุลยุทธ์ดาเนินการดังนั้น 5.6.1 การศึกษาเอกสาร การพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน 5.6.2 การศึกษาดูงาน โรงเรียนต้นแบบจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน 5.6.3 การปฏิบัติการเรียนรู้โดยใช้โครงงาน 5.6.4 การแลกเปลี่ยนความรู้ 5.7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 5.7.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5.7.2 แบบทดสอบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ 5.7.3 แบบสอบถาม 5.8 วิธีการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) โดยใช้หลักการตามแนวคิดของ John Dewey, Kemmis และ MC Taggart (Kemmis and MC Taggart, 1988 : 11 - 15) และเป็นการ เรียนรู้ที่เชื่อมโยงหลักการพัฒนาการคิดของ บลูม (Bloom) ทั้ง 6 ขั้น เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ โครงงานได้ดาเนินการ 2 วงรอบ ในแต่ละวงรอบประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นการวางแผน (Planning) 2) ขั้นการปฏิบัติ (Action) 3) ขั้นการสังเกต (Observation) 4) ขั้นการสะท้อนผล (Reflection) (สุวิมล ว่องวานิช. 2544 : 13) 5.9 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
  • 5. 6. ผลการดาเนินงาน 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี (93.26) สูงขึ้น 2. ผู้เรียนมีพัฒนาด้านทักษะการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์สูงขึ้นเมื่อใช้กระบวนการเรียนรู้ แบบโครงงาน 3. ผู้เรียนเห็นคุณค่าของอาชีพสุจริตและเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตอยู่ในระดับ ดีมาก 7. การเผยแพร่ผลงาน 7.1 จัดนิทรรศการนาเสนอผลงาน 7.2 แผ่นพับ 7.3 Email : kitiyat8@gmail.com
  • 6. วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ สู่งานอาชีพโดยใช้โครงงานเป็นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ผู้วิจัย นางกิติยา ทามาน ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนอนุบาลนครพนม อ.เมือง จ.นครพนม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1 กระทรวงศึกษาธิการ