Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
SlideShare a Scribd company logo
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
ความสาคัญของภาษาบาลี
๑.) เป็นภาษาอันเป็นโวหารของพระพุทธเจ้า (สัมพุทธโวหารภาสา)
๒.) เป็นภาษาอันเป็นโวหารของพระอริยเจ้า (อริยโวหารภาสา)
๓.) เป็นภาษาที่ใช้บันทึกสภาวธรรม (ยถาภุจจพรหมโวหารภาสา)
๔.) เป็นภาษาที่รักษาพระพุทธพจน์ (ปาลีภาสา)
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
วรรค
สระ อโฆษะ (ไม่ก้อง) โฆษะ (ก้อง)
นาสิกรัสสระ
(สั้น)
ทีฆสระ
(ยาว)
สิถิล (เบา)
ธนิต
(หนัก)
สิถิล (เบา)
ธนิต
(หนัก)
กัณฐชะ อะ a อา ā กฺ k ขฺ kh คฺ g ฆฺ gh งฺ ṅ
ตาลุชะ อิ i อี ī, เอ e จฺ c ฉฺ ch ชฺ j ฌฺ jh ญฺ ñ
มุทธชะ - - ฏฺ ṭ ฐฺ ṭh ฑฺ ḍ ฒฺ ḍh ณฺ ṇ
ทันตชะ - - ตฺ t ถฺ th ทฺ d ธฺ dh นฺ n
โอฏฐชะ อุ u อู ū, โอ o ปฺ p ผฺ ph พฺ b ภฺ bh มฺ m
ในเอกสารนี้ใช้คาสองคาคือภาษามคธและภาษาบาลี แต่ต่อจากนี้ไปขอใช้คาว่าภาษาบาลีเพื่อ
จะได้ตรงกับรายวิชา ไวยากรณ์ภาษาบาลีมีกฏเกณฑ์ที่แน่นอน ผู้เริ่มต้นศึกษาต้องรู้จักกับ
พยัญชนะและสระของภาษาบาลีก่อนจากนั้นจึงค่อยๆถ่ายเสียงภาษาบาลีด้วยอักษรโรมัน บาลี
ไวยากรณ์นั้นเขียนเป็นภาษาบาลีว่า “ปาลีเวยฺยากรณ” แปลว่าปกรณ์เป็นเครื่องทาให้แจ้งซึ่ง
บาลีมีบทวิเคราะห์ว่า ปาลึ วฺยากรโรติ เตนาติ ปาลิกรณ แปลตามบทวิเคราะห์ว่า อาจารย์ย่อม
กระทาให้แจ้งซึ่งบาลีด้วยปกรณ์นั้น เพราะเหตุนั้น ปกรณ์นั้นชื่อว่า ปาลิเวยฺยากรณ นักศึกษา
ภาษาบาลีในประเทศไทยได้นาคาว่า “บาลี” มาใช้ในความหมายว่า “ภาษาที่รักษาพุทธพจน์”
แต่คาว่า “บาลี” ไม่ใช่ภาษาแต่หมายถึงตาราหลักหรือคัมภีร์ชั้นต้นของพระพุทธศาสนาที่
บันทึกคาสอนของพระพุทธเจ้าไว้ ดังนั้นก่อนที่จะศึกษาวิชาบาลีเพื่อการศึกษาค้นคว้า
พระพุทธศาสนา จึงจาเป็นต้องรู้จักไวยากรณ์ภาษาบาลีโดยสังเขป
คำยืมภาษาบาลี
หลักการสังเกตคาบาลี
ตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ประกอบอยู่ข้างท้ายสระประสมกับ
สระและพยัญชนะ
มีหลักสังเกตดังนี้
ก. พยัญชนะตัวที่ ๑, ๓, ๕ เป็นตัวสะกดได้เท่านั้น (ต้องอยู่ในวรรคเดียวกัน)
ข. ถ้าพยัญชนะตัวที่ ๑ สะกด ตัวที่๑ หรือตัวที่ ๒ เป็นตัวตามได้
ค.ถ้าพยัญชนะตัวที่ ๓ สะกด ตัวที่ ๓ หรือ ๔ เป็นตัวตามได้ในวรรคเดียวกัน
ง. ถ้าพยัญชนะตัวที่ ๕ สะกด ทุกตัวในวรรคเดียวกันตามได้
จ.พยัญชนะบาลี ตัวสะกดตัวตามจะอยู่ในวรรคเดียวกันเท่านั้นจะข้ามไปวรรค
อื่นไม่ได้
หลักการสังเกตคาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
คำยืมภาษาบาลี
คาถามทบทวน
คำยืมภาษาบาลี
เฉลย

More Related Content

คำยืมภาษาบาลี