Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
SlideShare a Scribd company logo
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
• ผู้แต่ง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. ๖ )
• ลักษณะคาประพันธ์ : บทละครพูดขนาดสั้นมีความยาว ๑ องก์
• จุดประสงค์ในการแต่ง : เพื่อใช้แสดงละครให้ความบันเทิงที่แฝงไว้
ด้วยแง่คิดเกี่ยวกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์ และความเสียสละที่พ่อ
มีต่อลูก
• ที่มาของเรื่อง : เป็นบทพระราชนิพนธ์เรื่องหนึ่งในพระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๖) ที่ทรงผูกเรื่องขึ้นด้วยพระองค์เอง โดย
ทรงใช้นามแฝงว่า “พระขรรค์เพชร”
• รูปแบบงานประพันธ์ : ร้อยแก้ว บทละครพูดขนาดสั้น
• ระยะเวลาในการแต่ง : ราวปี พ.ศ ๒๔๕๓-๒๔๖๘
• รัชกาลที่ ๖ ทรงผูกเรื่องอย่างรัดกุมและดาเนินเรื่องโดยใช้บท
สนทนาของตัวละครโต้ตอบกัน ทาให้ทราบเรื่องราวที่ดาเนินไป และทราบ
เบื้องหลังของตัวละครแต่ละตัว นอกจากนี้ ยังทรงบรรยายกริยาท่าทางของตัว
ละครแต่ละตัวไว้ในวงเล็บ เพื่อช่วยให้นักแสดง แสดงตามบทได้สะดวกและสม
บทบาทยิ่งขึ้น ภาษาที่ใช้ในบทละครนี้ ใช้คาพูดง่ายๆแต่ให้ความหมายคมคาย
ลึกซึ้ง แม้ว่าบางคาที่มีใช้ในอดีตสมัย ๘๐ - ๙๐ปีก่อนแต่ไม่มีใช้ในปัจจุบัน
ผู้อ่านก็ยังพอเดาความหมายได้
• พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้ า
มหาวชิราวุธ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ
สมเด็จพระศรี พัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงพระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๒ มกราคม
พ.ศ. ๒๔๒๓ เมื่อ พระชนมายุ ๘ พรรษา ทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระ
เจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ ากรม ขุนเทพทวาราวดี และต่อมาทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น
สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมงกุฎราชกุมาร แทนสมเด็จพระบรมเชษฐา เจ้า
ฟ้ ามหาวชิรุณหิศ ซึ่งสวรรคต และได้เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อ พ.ศ.๒๔๒๓
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นนักปราชญ์ (ทรงได้รับการถวาย
พระ ราชสมัญญาว่า สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า) และทรงเป็นจินตกวีที่ทรง
เชี่ยวชาญทาง ด้านอักษรศาสตร์โบราณคดี มีพระราชนิพนธ์ร้อยแก้วร้อยกรองทั้ง
• ภาษาไทยและอังกฤษ มากกว่า ๒๐๐เรื่อง ทรงใช้นามแฝงต่างๆกัน เช่น อัศว
พาหุ รามจิตติ ศรีอยุธยา พันแหลม นายแก้วนายขวัญ ฯลฯ พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคตเมื่อ วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๔๖๘รวมพะชนมพรรษา ๔๕ พรรษา
• นายล้ามาที่บ้านพระยาภักดีนฤนาถ มีอ้ายคาซึ่งเป็นคนรับใช้ของพระยาภักดี
ให้การต้อนรับ และนั่งคอยดูอยู่ห่างๆเนื่องจากไม่ไว้ใจเพราะเห็นสภาพของนายล้าที่
แต่งตัวปอนๆ ท่าทางดื่มเหล้าจัดจนเมื่อพระยาภักดีกลับมาบ้านได้พบนายล้าจึงทา
ให้ทราบเรื่องราวของคนทั้งสอง จากการสนทนาโต้ตอบกันว่า เดิมนายล้าเป็นเพื่อน
กับพระยาภักดี ซึ่งมีตาแหน่งเป็นหลวงกาธร ส่วน นายล้าเป็นทิพเดชะ นายล้ามี
ภรรยา คือแม่นวล มีลูกสาวคือ แม่ลออ เมื่อแม่ลออมีอายุ 2 ขวบ เศษ นายล้าก็ถูก
จาคุกเพราะทุจริตต่อหน้าที่ แม่นวลเลี้ยงดูลูกสาวมาตามลาพัง ก่อนตายจึงยก ลูก
สาวให้เป็นลูกบุญธรรมของพระยาภักดี นายล้าจาคุกอยู่ ๑๐ ปี ก็ออกจากคุกไปร่วม
ค้าฝิ่นอยู่ กับจีนกิมจีนเง็ก ที่พิษณุโลก พอถูกตารวจจับได้ก็แก้ข้อกล่าวหาเอาตัว
รอดฝ่ายเดียว ต่อมาก็ ตกอยู่ในสภาพสิ้นเนื้อประดาตัว จึงตั้งใจจะมาอยู่กับแม่ลออ
ซึ่ง มีอายุ ๑๗ ปี กาลังจะแต่งงาน กับนายทองคา แต่พระยาภักดีพยายามชี้แจง
• ให้นายล้าเห็นแก่ลูกสาวไม่ต้องการให้ถูกคนอื่น รังเกียจว่ามีพ่อเป็นคนขี้คุก
และฉ้อโกง จนในที่สุดเสนอเงินให้ 100 ชั่ง แต่นายล้าก็ไม่ยอมเมื่อ แม่ลออ
กลับมาถึง นายล้าจึงได้รู้จักกับแม่ลออและได้เห็นประจักษ์ว่าตนเลวเกินกว่าจะ
เป็นพ่อ ของแม่ลออ ซึ่งหล่อนได้วาดภาพพ่อไว้ในใจว่า พ่อเป็นคนดีที่หาที่ติ
ไม่ได้เลย
• ๑.ความดีความชั่วที่บุคคลได้กระทาลงไป อาจส่งผลช้าหรือเร็ว ขึ้นอยู่กับปัจจัย
อื่นๆหลายประการ
๒.เหตุการณ์ที่กระทบใจมนุษย์ และมีผลให้มนุษย์แปรเปลี่ยนความตั้งใจไปได้
อย่างตรงกันข้ามนั้น อาจเกิดได้โดยไม่ได้คาดฝัน และโดยมิใช่เจตนาของใคร
ทั้งสิ้น
๓.ความรักและความภูมิใจที่บิดามีต่อบุตร ทาให้บิดายอมเสียสละให้แก่บุตร
โดยไม่หวังผลตอบแทน ใดๆทั้งสิ้น
๔.ความรักอันบริสุทธิ์ที่บุคคล 2 คนมีต่อกันนั้น จะไม่จากัดอยู่เฉพาะบุคคล 2
คน เท่านั้น แต่อาจเผื่อแผ่ไปถึงบุคคลที่เป็นเลือดเนื้อเชื้อไขของอีกฝ่ายหนึ่ง
ด้วย
๕.การพึ่งตัวเองเป็นสิ่งที่ควรปฎิบัติก่อนที่จะพึ่งพาอาศัยผู้อื่น
• ๖.การที่ทาความผิดแล้วสานึกในความผิด สมควรได้รับการให้อภัย
• ๗.คนเราทุกคนย่อมรักและหวังดีต่อลูกและพร้อมที่จะเสียสละเพื่อลูกได้
• ๘.คนที่ทาความดีย่อมได้รับผลดีตอบแทน ถ้าทาความชั่วก็ย่อมได้รับผลของ
ความชั่วนั้น
• ๙.การประพฤติตนไม่เหมาะสม เช่นการ ฉ้อราษฎร์บังหลวง ย่อมได้รับผล
ของการกระทานั้น
• ๑๐.คนเราควรรับผิดชอบในครอบครัวของตน เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อ
สังคม เช่นลูกขาดพ่อแม่
• ๑๑.การพึ่งตัวเองเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติก่อนที่จะพึ่งพาอาศัยผู้อื่น
• ๑๒.การที่ทาความผิดแล้วสานึกในความผิด สมควรได้รับการให้อภัย
• ๑. รับประทานโทษ หมายถึง ได้รับโทษ
• ๒. เกลอเก่า หมายถึง เพื่อนเก่า
• ๓. เป็นโทษ หมายถึง ได้รับโทษ
• ๔. หมอความ หมายถึง ทนายความ
• ๕. ระหาย หมายถึง กระหายน้า
• ๖. เกล้ากระผม หมายถึง ผม(คาเรียกตนเอง)
• ๗. อินัง หมายถึง สนใจ เอาใจใส่
• ๘. สาวใหญ่ หมายถึง ผู้หญิงที่โตเป็นสาวแล้ว
• ๙. ดูเกินเวลา หมายถึง ไม่ทันเวลา
• ๑๐. มีเหย้ามีเรือน หมายถึง แต่งงานมีครอบครัว
• ๑๑.ตกรก หมายถึง ตกนรก
• ๑๒. อาญาจักร หมายถึง โทษ
• ๑๓. เสมียนบาญชี หมายถึง นักบัญชี
• นายล้า ในตอนแรกเมื่อตนเองหมดหนทาง คิดจะมาเกาะแม่ลออแต่ตอนหลัง
ก็กลับตัวกลับใจ
• เจ้าคุณภักดี เป็นผู้ชายที่รักจริง (รักแม่ของ แม่ลออ) แล้วก็เป็นพ่อที่ดีมาก
รักแม่ลออเหมือนลูกในไส้
• บ่าวเจ้าคุณ เป็นคนที่ซื่อสัตย์
• แม่ลออ ไร้เดียงสา ดูสุภาพเรียบร้อย มีมารยาท
• จงตอบคาถามต่อไปนี้
• ๑.รัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก โดยใช้พระ
นามแฝงว่า
• ๒. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระนามเดิมคือ
• ๓.เรื่องเห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดกี่องค์
• ๔.อาญาจักร หมายถึง
• ๕.วิธีการเขียนบทละครพูดมีวิธีการดาเนินเรื่องเหมือนงานเขียนประเภทใด
• ๖.คุณสมบัติที่สาคัญที่สุดของวรรณกรรมประเภทบทละครพูดคืออะไร
• ๗.“การละครเป็นวิธีหนึ่งแห่งการอบรมจิตใจ” เรื่องเห็นแก่ลูกให้คติสอนใจใน
เรื่องใด
• ๘.เรื่องเห็นแก่ลูกให้คติสอนใจในด้านใดมากที่สุด
• ๙.การที่อ้ายคาไม่ไว้ใจนายล้า เมื่อพบกันครั้งแรกเป็นเพราะเหตุใด
• ๑๐. “ฉันไม่สู้แน่ใจ ดูเหมือนจะจาได้คลับคล้ายคลับคลา”ผู้พูดกล่าวแสดงให้
รู้สึกว่า
• ๑๑.นายล้ามีลักษณะนิสัยอย่างไร
• ๑๒.การจบเรื่องเห็นแก่ลูกใช้กลวิธีใด
• ๑๓.สาแดง หมายถึง
• ๑๔.ระหายน้า หมายถึง
• ๑๕.รับประทานโทษ หมายถึง
• ๑๖.เกลอเก่า หมายถึง
• ๑๗.ห้าสิบชั่ง เท่ากับ จานวนเงินเท่าไรในปัจจุบัน

More Related Content

บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก

  • 3. • ผู้แต่ง : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร. ๖ ) • ลักษณะคาประพันธ์ : บทละครพูดขนาดสั้นมีความยาว ๑ องก์ • จุดประสงค์ในการแต่ง : เพื่อใช้แสดงละครให้ความบันเทิงที่แฝงไว้ ด้วยแง่คิดเกี่ยวกับการดาเนินชีวิตของมนุษย์ และความเสียสละที่พ่อ มีต่อลูก • ที่มาของเรื่อง : เป็นบทพระราชนิพนธ์เรื่องหนึ่งในพระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๖) ที่ทรงผูกเรื่องขึ้นด้วยพระองค์เอง โดย ทรงใช้นามแฝงว่า “พระขรรค์เพชร” • รูปแบบงานประพันธ์ : ร้อยแก้ว บทละครพูดขนาดสั้น • ระยะเวลาในการแต่ง : ราวปี พ.ศ ๒๔๕๓-๒๔๖๘
  • 4. • รัชกาลที่ ๖ ทรงผูกเรื่องอย่างรัดกุมและดาเนินเรื่องโดยใช้บท สนทนาของตัวละครโต้ตอบกัน ทาให้ทราบเรื่องราวที่ดาเนินไป และทราบ เบื้องหลังของตัวละครแต่ละตัว นอกจากนี้ ยังทรงบรรยายกริยาท่าทางของตัว ละครแต่ละตัวไว้ในวงเล็บ เพื่อช่วยให้นักแสดง แสดงตามบทได้สะดวกและสม บทบาทยิ่งขึ้น ภาษาที่ใช้ในบทละครนี้ ใช้คาพูดง่ายๆแต่ให้ความหมายคมคาย ลึกซึ้ง แม้ว่าบางคาที่มีใช้ในอดีตสมัย ๘๐ - ๙๐ปีก่อนแต่ไม่มีใช้ในปัจจุบัน ผู้อ่านก็ยังพอเดาความหมายได้
  • 5. • พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้ า มหาวชิราวุธ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระศรี พัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงพระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ เมื่อ พระชนมายุ ๘ พรรษา ทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระ เจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ ากรม ขุนเทพทวาราวดี และต่อมาทรงได้รับสถาปนาขึ้นเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมงกุฎราชกุมาร แทนสมเด็จพระบรมเชษฐา เจ้า ฟ้ ามหาวชิรุณหิศ ซึ่งสวรรคต และได้เสด็จขึ้นครองราชย์ เมื่อ พ.ศ.๒๔๒๓ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นนักปราชญ์ (ทรงได้รับการถวาย พระ ราชสมัญญาว่า สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า) และทรงเป็นจินตกวีที่ทรง เชี่ยวชาญทาง ด้านอักษรศาสตร์โบราณคดี มีพระราชนิพนธ์ร้อยแก้วร้อยกรองทั้ง
  • 6. • ภาษาไทยและอังกฤษ มากกว่า ๒๐๐เรื่อง ทรงใช้นามแฝงต่างๆกัน เช่น อัศว พาหุ รามจิตติ ศรีอยุธยา พันแหลม นายแก้วนายขวัญ ฯลฯ พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคตเมื่อ วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘รวมพะชนมพรรษา ๔๕ พรรษา
  • 7. • นายล้ามาที่บ้านพระยาภักดีนฤนาถ มีอ้ายคาซึ่งเป็นคนรับใช้ของพระยาภักดี ให้การต้อนรับ และนั่งคอยดูอยู่ห่างๆเนื่องจากไม่ไว้ใจเพราะเห็นสภาพของนายล้าที่ แต่งตัวปอนๆ ท่าทางดื่มเหล้าจัดจนเมื่อพระยาภักดีกลับมาบ้านได้พบนายล้าจึงทา ให้ทราบเรื่องราวของคนทั้งสอง จากการสนทนาโต้ตอบกันว่า เดิมนายล้าเป็นเพื่อน กับพระยาภักดี ซึ่งมีตาแหน่งเป็นหลวงกาธร ส่วน นายล้าเป็นทิพเดชะ นายล้ามี ภรรยา คือแม่นวล มีลูกสาวคือ แม่ลออ เมื่อแม่ลออมีอายุ 2 ขวบ เศษ นายล้าก็ถูก จาคุกเพราะทุจริตต่อหน้าที่ แม่นวลเลี้ยงดูลูกสาวมาตามลาพัง ก่อนตายจึงยก ลูก สาวให้เป็นลูกบุญธรรมของพระยาภักดี นายล้าจาคุกอยู่ ๑๐ ปี ก็ออกจากคุกไปร่วม ค้าฝิ่นอยู่ กับจีนกิมจีนเง็ก ที่พิษณุโลก พอถูกตารวจจับได้ก็แก้ข้อกล่าวหาเอาตัว รอดฝ่ายเดียว ต่อมาก็ ตกอยู่ในสภาพสิ้นเนื้อประดาตัว จึงตั้งใจจะมาอยู่กับแม่ลออ ซึ่ง มีอายุ ๑๗ ปี กาลังจะแต่งงาน กับนายทองคา แต่พระยาภักดีพยายามชี้แจง
  • 8. • ให้นายล้าเห็นแก่ลูกสาวไม่ต้องการให้ถูกคนอื่น รังเกียจว่ามีพ่อเป็นคนขี้คุก และฉ้อโกง จนในที่สุดเสนอเงินให้ 100 ชั่ง แต่นายล้าก็ไม่ยอมเมื่อ แม่ลออ กลับมาถึง นายล้าจึงได้รู้จักกับแม่ลออและได้เห็นประจักษ์ว่าตนเลวเกินกว่าจะ เป็นพ่อ ของแม่ลออ ซึ่งหล่อนได้วาดภาพพ่อไว้ในใจว่า พ่อเป็นคนดีที่หาที่ติ ไม่ได้เลย
  • 9. • ๑.ความดีความชั่วที่บุคคลได้กระทาลงไป อาจส่งผลช้าหรือเร็ว ขึ้นอยู่กับปัจจัย อื่นๆหลายประการ ๒.เหตุการณ์ที่กระทบใจมนุษย์ และมีผลให้มนุษย์แปรเปลี่ยนความตั้งใจไปได้ อย่างตรงกันข้ามนั้น อาจเกิดได้โดยไม่ได้คาดฝัน และโดยมิใช่เจตนาของใคร ทั้งสิ้น ๓.ความรักและความภูมิใจที่บิดามีต่อบุตร ทาให้บิดายอมเสียสละให้แก่บุตร โดยไม่หวังผลตอบแทน ใดๆทั้งสิ้น ๔.ความรักอันบริสุทธิ์ที่บุคคล 2 คนมีต่อกันนั้น จะไม่จากัดอยู่เฉพาะบุคคล 2 คน เท่านั้น แต่อาจเผื่อแผ่ไปถึงบุคคลที่เป็นเลือดเนื้อเชื้อไขของอีกฝ่ายหนึ่ง ด้วย ๕.การพึ่งตัวเองเป็นสิ่งที่ควรปฎิบัติก่อนที่จะพึ่งพาอาศัยผู้อื่น
  • 10. • ๖.การที่ทาความผิดแล้วสานึกในความผิด สมควรได้รับการให้อภัย • ๗.คนเราทุกคนย่อมรักและหวังดีต่อลูกและพร้อมที่จะเสียสละเพื่อลูกได้ • ๘.คนที่ทาความดีย่อมได้รับผลดีตอบแทน ถ้าทาความชั่วก็ย่อมได้รับผลของ ความชั่วนั้น • ๙.การประพฤติตนไม่เหมาะสม เช่นการ ฉ้อราษฎร์บังหลวง ย่อมได้รับผล ของการกระทานั้น • ๑๐.คนเราควรรับผิดชอบในครอบครัวของตน เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อ สังคม เช่นลูกขาดพ่อแม่ • ๑๑.การพึ่งตัวเองเป็นสิ่งที่ควรปฏิบัติก่อนที่จะพึ่งพาอาศัยผู้อื่น • ๑๒.การที่ทาความผิดแล้วสานึกในความผิด สมควรได้รับการให้อภัย
  • 11. • ๑. รับประทานโทษ หมายถึง ได้รับโทษ • ๒. เกลอเก่า หมายถึง เพื่อนเก่า • ๓. เป็นโทษ หมายถึง ได้รับโทษ • ๔. หมอความ หมายถึง ทนายความ • ๕. ระหาย หมายถึง กระหายน้า • ๖. เกล้ากระผม หมายถึง ผม(คาเรียกตนเอง) • ๗. อินัง หมายถึง สนใจ เอาใจใส่ • ๘. สาวใหญ่ หมายถึง ผู้หญิงที่โตเป็นสาวแล้ว • ๙. ดูเกินเวลา หมายถึง ไม่ทันเวลา
  • 12. • ๑๐. มีเหย้ามีเรือน หมายถึง แต่งงานมีครอบครัว • ๑๑.ตกรก หมายถึง ตกนรก • ๑๒. อาญาจักร หมายถึง โทษ • ๑๓. เสมียนบาญชี หมายถึง นักบัญชี
  • 13. • นายล้า ในตอนแรกเมื่อตนเองหมดหนทาง คิดจะมาเกาะแม่ลออแต่ตอนหลัง ก็กลับตัวกลับใจ • เจ้าคุณภักดี เป็นผู้ชายที่รักจริง (รักแม่ของ แม่ลออ) แล้วก็เป็นพ่อที่ดีมาก รักแม่ลออเหมือนลูกในไส้ • บ่าวเจ้าคุณ เป็นคนที่ซื่อสัตย์ • แม่ลออ ไร้เดียงสา ดูสุภาพเรียบร้อย มีมารยาท
  • 14. • จงตอบคาถามต่อไปนี้ • ๑.รัชกาลที่ ๖ ทรงพระราชนิพนธ์บทละครพูดเรื่องเห็นแก่ลูก โดยใช้พระ นามแฝงว่า • ๒. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวพระนามเดิมคือ • ๓.เรื่องเห็นแก่ลูก เป็นบทละครพูดกี่องค์ • ๔.อาญาจักร หมายถึง • ๕.วิธีการเขียนบทละครพูดมีวิธีการดาเนินเรื่องเหมือนงานเขียนประเภทใด • ๖.คุณสมบัติที่สาคัญที่สุดของวรรณกรรมประเภทบทละครพูดคืออะไร • ๗.“การละครเป็นวิธีหนึ่งแห่งการอบรมจิตใจ” เรื่องเห็นแก่ลูกให้คติสอนใจใน เรื่องใด
  • 15. • ๘.เรื่องเห็นแก่ลูกให้คติสอนใจในด้านใดมากที่สุด • ๙.การที่อ้ายคาไม่ไว้ใจนายล้า เมื่อพบกันครั้งแรกเป็นเพราะเหตุใด • ๑๐. “ฉันไม่สู้แน่ใจ ดูเหมือนจะจาได้คลับคล้ายคลับคลา”ผู้พูดกล่าวแสดงให้ รู้สึกว่า • ๑๑.นายล้ามีลักษณะนิสัยอย่างไร • ๑๒.การจบเรื่องเห็นแก่ลูกใช้กลวิธีใด • ๑๓.สาแดง หมายถึง • ๑๔.ระหายน้า หมายถึง • ๑๕.รับประทานโทษ หมายถึง • ๑๖.เกลอเก่า หมายถึง • ๑๗.ห้าสิบชั่ง เท่ากับ จานวนเงินเท่าไรในปัจจุบัน