Location via proxy:   [ UP ]  
[Report a bug]   [Manage cookies]                
SlideShare a Scribd company logo
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
1
บทที่ 1
บทสรุปสําหรับนักลงทุน
ตั้งแตภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยถดถอย ไดมีความพยายามที่จะดึงเงินตราจากตางประเทศ
เขามาในรูปแบบของบริการการทองเที่ยว ยิ่งในภาวะที่โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรงหรือซารสเปน
ปญหาในยานเอเซีย ทําใหนักเดินทางมาประเทศไทยลดนอยลง รัฐบาลจึงตองหากลยุทธตางๆ มาใชเพื่อ
ดึงดูดนักทองเที่ยวใหเขามามากขึ้น หนึ่งในนั้นคือ การทองเที่ยว เนื่องจากโรงแรมในประเทศไทยมีการ
บริการที่ดี และกิจการสปาก็กําลังเปนที่แพรหลายตามโรงแรมและรีสอรทตางๆ มากมายจึงเปนจุดขายอีก
แบบหนึ่งที่หวังจะดึงเงินตราเขาประเทศ แตกอนที่ชาวตางชาติจะเขามาใชบริการ คนไทยเองก็ไดเริ่มมีความ
นิยมและมีการใชบริการเพิ่มขึ้นบางแลว
ในสภาพสังคมที่มีการแขงขันสูงไดสรางความเครียดในการทํางานหรือการดําเนินธุรกิจ และ
ปญหาดานสุขภาพมากขึ้น ทําใหพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผูบริโภคเปลี่ยนแปลงไปอยางมากโดยเฉพาะ
ความตองการความผอนคลายในรูปแบบตางๆ จากขอมูลศูนยวิจัยกสิกรไทยพบวา คนในกรุงเทพมหานคร
มากกวารอยละ 48 หันมาใชวิธีทางธรรมชาติในการบําบัด ทําใหตลาดการดูแลรักษาสุขภาพมีการขยายตัว
มากขึ้น
ตลาดสปาเปนตลาดที่มีมูลคาและมีแนวโนมการเจริญเติบโตที่สูง โดยในป 2545 ตลาดมีมูลคา
รวมอยูที่ 3,655 ลานบาท และมีอัตราการเติบโตสูงมากถึงรอยละ 64 ในชวงป 2543 - 2545 ที่ผานมา จาก
ผูประกอบการทั้งหมดประมาณ 250 ราย โดยที่รายไดประมาณ 2,294 ลานบาท หรือรอยละ 80 ของตลาด
รวม ไดมาจากนักทองเที่ยวชาวตางชาติที่เดินทางเขามาทองเที่ยวและทําธุรกิจ และจากแนวโนมการเติบโต
ทางธุรกิจสปานี้เอง ทําใหมีการคาดการณวาตลาดสปานาจะมีอัตราการเติบโตอยางตอเนื่องตอไปอีก 3 ป
ขางหนา โดยตลาดนาจะมีมูลคารวมอยูที่ประมาณ 4,200 ลานบาท สวนหนึ่งที่ทําใหตลาดเติบโตก็
เนื่องมาจากการเปดใหมีบริการสปาในโรงแรมและรีสอรทเกือบทุกที่เพิ่มมากขึ้น
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
2
จากการที่สปาไดกลายมาเปนตลาดที่มีศักยภาพ ในการที่มีอัตราการเติบโตสูงและมีแนวโนม
ของผูบริโภคที่ตองการการผอนคลายเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกันสปาที่เปดใหบริการยังมีจํานวนไมมากนัก
โดยเฉพาะสปาที่เปดแบบสแตนอโลน ดังนั้นจึงทําใหบริษัท The Spa มองเห็นแนวทางและโอกาสที่จะ
ประสบความสําเร็จในการลงทุนทําธุรกิจประเภทนี้ อยางไรก็ตาม ถึงแมวาจะมีจํานวนสปาที่เปดใหบริการยัง
มีไมมากนัก แตอุตสาหกรรมนี้กําลังตกอยูในสภาพการแขงขันที่รุนแรง ดังนั้นการที่จะดําเนินกิจการให
ประสบความสําเร็จจําเปนตองอาศัยปจจัยหลายอยางดวยกัน เชน ทําเลที่ตั้ง ราคาคาใชบริการ สินคาและการ
บริการ แตที่สําคัญที่สุดไดแก การเลือกทําเลสถานที่ตั้งและการสรางจุดขายที่โดดเดนแตกตางจากคูแขงและ
เปนขอไดเปรียบในการแขงขัน และจากปจจัยเหลานี้เองที่ทําใหทาง The Spa ซึ่งเปนรูปแบบของ Destination
Spa ขนาดพื้นที่ใหบริการ 2,000 ตารางเมตร มีความมั่นใจที่จะสามารถดําเนินและประสบความสําเร็จใน
ธุรกิจสปาได เนื่องจากปจจัยที่สําคัญเชน ทําเลที่ตั้งของ The Spa ที่จะเปดใหบริการตั้งอยูที่ถนน บางนา-
ตราด ซึ่งตั้งอยูบนพื้นที่ดานหนาของตึกไพโรจนกิจจา หางจากเซ็นทรัลบางนาไปประมาณ 100 เมตร บริเวณ
พื้นที่ดานหนาติดกับถนนใหญ จึงเปนทําเลที่เดินทางไปมาสะดวกและผูที่เดินทางไปมาบริเวณนั้นสามารถ
สังเกตเห็นไดงาย นอกจากนั้นยังมีการใหบริการที่ครบวงจร เชน บริการนวด และเสริมความงาม โดยเฉพาะ
บริการนวดที่ทาง The Spa จัดใหมีการนวดที่บาน (Spa Delivery) เปนจุดเดนแตกตางจากสปา ทั่วไป ซึ่งจะ
ชวยอํานวยความสะดวกใหกับผูบริโภค ที่ตองการการผอนคลายแตไมตองเดินทางออกจากบาน และการ
ตกแตงสถานที่ทั้งภายนอกและภายในที่ลงตัว โดยการผสมผสานระหวางดีไซนที่ทันสมัย และความเปน
ธรรมชาติ สงบ เพื่อใหผูบริโภคเกิดความมั่นใจในสถานที่ และรูสึกผอนคลายเมื่อเขามาใชบริการ
ทางบริษัท The Spa เล็งเห็นวากลุมลูกคาเปาหมายในยานถนนบางนา-ตราด เขตบางจาก เขต
พระโขนง และศรีนครินทร เปนกลุมลูกคาที่มีอํานาจซื้อและมีจํานวนมากพอสมควร โดยเฉพาะยานบางนา-
ตราด และศรีนครินทรที่มีโครงการหมูบานจัดสรรเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก ซึ่งทางบริษัทฯ มั่นใจวาสามารถ
ดึงดูดและรองรับใหบริการลูกคาเปาหมายไดเปนอยางดี
ในสวนของคูแขงขันนั้น จากการสํารวจตลาดพบวาในบริเวณใกลเคียงกันมีคูแขงเพียงหนึ่งราย
เทานั้นที่ทาง The Spa จัดใหเปนคูแขงที่สําคัญ ซึ่งไดแก Health Land Spa ตั้งอยูบนถนนศรีนครินทร
สามารถเดินทางไดทั้งจากดาน ซอยอุดมสุข 60 และทางถนนศรีนครินทร Health Land เปนสปาที่เปด
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
3
ใหบริการมากกวา 2 ป จึงทําใหเปนที่รูจักของกลุมลูกคา แตเนื่องจากวาทําเลตั้งอยูในซอย ทําใหผูบริโภค
รายใหมๆ ที่อยากทดลองใชบริการสังเกตเห็นไดยาก จากจุดออนขอนี้ทําใหทางบริษัท The Spa เชื่อมั่นวา
จะเปนสปาที่ใหบริการและตอบสนองความตองการกับกลุมผูบริโภครายใหมที่ตองการเขามาทดลองใช
บริการไดดีกวาคูแขง
ดานการลงทุนและบริหารการเงิน ทางบริษัท The Spa ไดวางแผนการจัดการอยางมี
ประสิทธิภาพ โดยจะควบคุมตนทุนขายและคาใชจายในดานตางๆใหอยูในระดับที่ไมสูงจนเกินไป เนนการ
ลงทุนและใชจายใหตรงกับกลุมลูกคาเปาหมายใหไดมากที่สุด และชวยเพิ่มยอดการใชบริการไดอยางมี
ประสิทธิผล ทางบริษัท The Spa ไดวางแผนการดําเนินงานวาโครงการจะเริ่มกอสรางในเดือนกันยายน 2546
และคาดวาแลวเสร็จพรอมเปดใหบริการใหกับลูกคาไดภายในเดือนมกราคม 2547
1. วางแผนที่จะใชเงินลงทุนทั้งสิ้นประมาณ 22 ลานบาท โดยแบงสัดสวนของการลงทุนสวน
ของเจาของประมาณ 12 ลานบาท และสวนของเงินกูธนาคาร 10 ลานบาท
2. มียอดขายปแรก 13 ลานบาท
3. สรางผลกําไรไดตั้งแตสิ้นปที่หนึ่ง
4. มียอดขายเติบโตตอเนื่องประมาณรอยละ 20 ตอป
5. สามารถคืนทุนไดภายในระยะเวลาประมาณ 3 ป
6. มีคา NPV อยูที่ 23.8 ลานบาท
7. มี IRR อยูที่รอยละ 34
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
4
บทที่ 2
ตลาดสปา
สภาพตลาดปจจุบัน
• วิธีการดูแลสุขภาพและการผอนคลายความเครียด
สภาพเศรษฐกิจสังคมและการแขงขันเชิงธุรกิจในปจจุบันกอใหเกิดความเครียดและปญหาดาน
สุขภาพไมวาจะอยูในสถานะภาพของเจาของกิจการหรือลูกจางเองก็ตาม จึงเปนเหตุผลใหผูบริโภคเริ่มสนใจ
และเอาใจใสดูแลและรักษาสุขภาพอยางจริงจังเพิ่มขึ้น
ผูบริโภคเหลานี้มีทางเลือกที่จะดูแลสุขภาพ และมีวิธีการผอนคลายไดหลายรูปแบบ เชน การ
เขาศูนยกีฬา วิ่ง และเตนแอโรบิคตามสวนสาธารณะ การฝกโยคะ การไปดูหนังหรือเดินซื้อของตาม
หางสรรพสินคา แตวิธีการผอนคลายที่กําลังมาแรงและเปนที่นิยมอยางแพรหลายคือ การเขามาใชบริการ
ในสปา ซึ่งนอกจากจะทําใหผูบริโภคคลายความเครียดแลว การบริการบางประเภทในสปายังเปนการเสริม
สุขภาพใหแข็งแรงอีกดวย
แตเนื่องจาก 1 - 2 ปที่ผานมา ธุรกิจสปาที่เปดใหบริการสวนใหญจะอยูในโรงแรมและรีสอร
ทตามสถานที่ทองเที่ยว ทําใหผูบริโภคบางสวนไมสะดวกที่จะไปใชบริการ นอกจากนี้ อัตราคาบริการของ
บรรดาธุรกิจสปาซึ่งตั้งอยูในโรงแรมและรีสอรทดังกลาวก็มีราคาที่สูงมาก ทําใหเปนอุปสรรคของสถาน
บริการเหลานี้ที่ตองมุงการทําตลาดเปาหมายของตนไปที่ผูบริโภคระดับสูงเทานั้น ดังนั้นถามีบริการสปาที่
เปดแบบสแตนอโลนเพิ่มมากขึ้นและมีอัตราคาบริการปานกลาง ก็จะเปนทางเลือกที่ดีสําหรับผูบริโภคที่ใส
ใจสุขภาพและตองการใชบริการ
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
5
• โอกาสทางธุรกิจ
จากปจจัยที่เอื้ออํานวยหลายอยางในการลงทุนเชน ตลาดที่มีมูลคาสูงถึง 3,655 ลานบาท มีอัตรา
การเติบโตสูงอยางตอเนื่องประมาณ รอยละ 40 ตอป และจากชองวางของสภาพตลาดสวนใหญที่มีการเปด
สปาในเฉพาะสวนของโรงแรมและรีสอรทและมีราคาคาใชบริการที่สูง
แนวโนมของผูบริโภคที่เริ่มหันมาดูแลรักษาสุขภาพ และหาวิธีการผอนคลายดวยการใช
สมุนไพรมีมากขึ้น ซึ่งหนึ่งในนั้นคือน้ํามันหอมที่ใชนวด ที่มีสรรพคุณในการชวยบําบัดรักษาอาการตางๆ
ได พรอมกับใหกลิ่นหอมชวยใหรูสึกผอนคลายยิ่งขึ้น นอกจากนั้นการหาแหลงเงินกูเพื่อมาลงทุนในธุรกิจก็
สามารถทําไดงายกวาสมัยกอน เนื่องจากภาครัฐมีนโยบายสงเสริมธุรกิจขนาดกลางและเล็ก
จากปจจัยทั้งหมดที่กลาวถึงนี้ ทําใหทางบริษัท The Spa เล็งเห็นโอกาสในการดําเนินธุรกิจและ
เปนการสรางใหผูบริโภคมีทางเลือกเพิ่มมากขึ้นในการเลือกดูแลรักษาสุขภาพและการผอนคลายดวยวิธี
ธรรมชาติ
ลักษณะธุรกิจ
1. วิสัยทัศน
นําเสนอสินคาและบริการที่มีคุณภาพ โดยมุงเนนการสรางความพึงพอใจและเพิ่มคุณคา
ใหกับลูกคาทุกคนที่เขามาใชบริการ
2. ภารกิจ
เปนสถานบริการแบบ Destination Spa ที่ใหบริการการผอนคลายและเสริมสรางสุขภาพที่ดี
ใหกับผูบริโภคโดยเนนวิธีการแบบธรรมชาติบําบัด ดวยสินคาและบริการหลักๆ ดังนี้
- บริการนวด
- แบบแผนไทย และแบบอะโรมาเธอราพี
- นวดหนาและฝาเทา
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
6
- นวดบําบัด
- บริการเสริมความงาม
- อบผิว
- ขัดผิว
- สิ่งอํานวยความสะดวกและผอนคลาย
- อางน้ําจากุซซี่ และอางน้ําเย็น
- หองอบซาวนา และหองอบไอน้ํา
- การใหคําแนะนําในการดูแลรักษาสุขภาพ
- ผลิตภัณฑทางธรรมชาติ
- น้ํามันหอมกลิ่นตางๆ
- สมุนไพรประคบ
3. เปาหมายการดําเนินงาน
- สรางยอดขายประมาณ 13 ลานบาท ภายในป 2547
- มีผลกําไรสุทธิประมาณรอยละ 22 ในป 2547
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
7
บทที่ 3
การวิเคราะหสถานการณทางการตลาด
การวิเคราะหสภาพแวดลอมมหภาค
• ดานเศรษฐกิจและนโยบายรัฐบาล
สภาพเศรษฐกิจที่เริ่มปรับตัวดีขึ้น ทําใหผูบริโภคมีการใชจายเงินมากขึ้น และตลาดสปา ก็มี
แนวโนมที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นดวย นอกจากนั้นตลาดขางเคียงอยางผลิตภัณฑจากธรรมชาติโดยเฉพาะตลาด
สมุนไพรก็มีอัตราการขยายตัวสูงถึงรอยละ 30 ตอปซึ่งมาจากภาครัฐมีนโยบายสนับสนุนการพัฒนาการผลิต
และสงเสริมการใชผลิตภัณฑจากธรรมชาติ ทําใหตลาดผลิตภัณฑและการบริการเรื่องสุขภาพ ซึ่งรวมถึง
สปา กลายเปนตลาดที่มีศักยภาพในการเติบโตมากขึ้น
• ดานสังคมและวัฒนธรรม
สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมในประเทศ เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่เอื้ออํานวยตอ
การเติบโตของตลาดสปา เนื่องจากกระแสนิยมสินคาที่มาจากธรรมชาติและบริการความผอนคลายใน
รูปแบบธรรมชาติ มีการดูแลรักษาสุขภาพมากขึ้นทําใหผูบริโภคเริ่มมาใชบริการสปามากขึ้น โดยสวนหนึ่งมี
ความเชื่อที่วาสามารถชวยผอนคลายความเครียด และเสริมสุขภาพกายและจิตใจ เปนสถานที่สงบเหมาะ
สําหรับการผอนคลาย อีกทั้งยังเปนการหลีกเลี่ยงอันตรายจากสิ่งปนเปอนทางเคมี เนื่องจากใชผลิตภัณฑจาก
ธรรมชาติโดยเฉพาะการใชสมุนไพร
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
8
โครงสรางตลาดและสภาพอุตสาหกรรม
• โครงสรางตลาด
เมื่อวิเคราะหขอมูลทางการตลาดสปาในปจจุบันจะพบวามีลักษณะของการกระจายตัว กลาวคือ
ในแตละพื้นที่ จะมีสปาแบบสแตนอโลน เปดใหบริการเพียงไมกี่รายเทานั้น ไมวาจะในกรุงเทพมหานคร
หรือจังหวัดใหญๆ ที่เปนแหลงทองเที่ยวก็ตาม เชน ยานถนนบางนา-ตราด มีเพียงหนึ่งแหง ยานถนนสาธร
มีประมาณ 1 - 2 แหง เพราะสวนใหญแลวสปาจะเปดใหบริการอยูในโรงแรมระดับ 4 - 5 ดาว หรือรีสอรท
ทั่วไปในทุกที่
• สภาพอุตสาหกรรม
การใชธรรมชาติบําบัดเพื่อปรับสมดุลในรางกาย เปนวิธีหนึ่งที่คนสวนใหญเลือกใชเมื่อตองการ
ผอนคลายแทนการพึ่งยารักษาโรค จากความหวงใยสุขภาพนี้เอง ทําใหธุรกิจและบริการที่เกี่ยวของกับ
สุขภาพไดรับความสนใจมากขึ้น ธุรกิจและบริการดานสุขภาพถูกปลุกใหตื่นขึ้น เพราะเมืองไทยมีความโดดเดน
ทั้งเรื่องสมุนไพรและการแพทยแผนไทย โดยเฉพาะสปาซึ่งเปนธุรกิจที่กําลังมาแรงและไดรับความสนใจจาก
ผูประกอบการและนักลงทุนเปนอยางมาก
ในชวงเวลา 2 ปที่ผานมา มีจํานวนสปาเปดใหบริการเพิ่มขึ้นมากมาย ทั้งในรูปแบบที่เปนสปา
แบบใหบริการครบวงจร โดยมีการออกแบบสถานที่ใหดูหรูหรา และใหความรูสึกผอนคลายเมื่อเขาใช
บริการ และหองแถวที่เปดใหมีบริการนวดและเสริมความงามในแบบตางๆ
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
9
1. การเขามาของคูแขงรายใหม
จากเดิมที่สปาจะมีใหบริการแตในโรงแรมใหญและรีสอรทตางๆ แตเนื่องจากธุรกิจสปา
กําลังไดรับความนิยมอยางสูงจากผูบริโภค จึงทําใหมีนักลงทุนและผูประกอบการเริ่มตื่นตัวเปดกิจการดาน
สปาเพิ่มมากขึ้น โดยมีการเปดสปาตามโรงแรมตั้งแตระดับสี่ดาวขึ้นไป และเปดสปาแบบสแตนอโลนมา
กขึ้น ทําใหการแขงขันมีความรุนแรงมากขึ้นตามไปดวย แตการเขามาใหมในธุรกิจแบบสปานี้ทําไดไมงาย
นัก เนื่องจากรูปแบบการดําเนินธุรกิจของสปาในเมืองไทย ตองอาศัยทําเลที่เดินทางสะดวก การที่จะหา
ทําเลที่ตั้งที่ดีได ตองใชเงินลงทุนสูง นอกจากนั้นรูปแบบการใหบริการและการออกแบบตกแตงรานก็เปน
ปจจัยที่สําคัญอีกประการหนึ่งซึ่งจะวาไปแลวก็ตองใชเงินทุนสูงพอสมควร สิ่งสําคัญมากอีกอยางคือเรื่อง
ของบุคลากรโดยเฉพาะพนักงานนวดที่ตองมีความสามารถและความชํานาญในการนวดแบบตางๆ ซึ่ง ผูที่
เขามาใหมในธุรกิจสปาจําเปนตองลงทุน และมีแหลงที่จะจัดหาทรัพยากรบุคคลเหลานี้เขามาปฏิบัติงาน ซึ่ง
ไมใชเรื่องงายในปจจุบันที่จะหาพนักงานที่มีประสิทธิภาพในปริมาณมากๆ
2. สินคาทดแทน
ในมุมมองที่สปาเปนสถานที่สําหรับคนที่มีความตองการความผอนคลายความตึงเครียดจากการ
ทํางานหนัก สินคาทดแทนของธุรกิจสปาที่ชวยผอนคลายความเครียดหรือเสริมสรางสุขภาพมีอยูมากมาย
ทั่วไป อยางเชน ศูนยออกกําลังกายตามอาคารสํานักงานและโรงแรมตางๆ สถานที่ใหบริการนวดแผน
โบราณตามโรงพยาบาล อาคารพาณิชย หองแถวและตามหางสรรพสินคา การเตนแอโรบิค ใน
สวนสาธารณะหรือบริเวณลานหนาหางสรรพสินคา การวิ่งและการฝกโยคะซึ่งกําลังเปนที่นิยม หรือกระทั่ง
การดูภาพยนตรก็สามารถชวยใหผอนคลายได ซึ่งผูบริโภคมีทางเลือกมากมายในการเลือกใชบริการ โดย
กิจกรรมบางอยาง สามารถทําไดโดยไมเสียคาใชจายหรือมีคาใชจายที่ถูกมากๆ นอกจากนั้นสถานที่เหลานี้
หาไดงายกวาสปา
แตในมุมมองที่สปาเปนสถานที่สําหรับคนที่มีความตองการความผอนคลายดวยการนวด สินคา
ทดแทนของธุรกิจสปาจัดวามีคอนขางนอย ซึ่งไดแกสถานที่ใหบริการนวดแผนโบราณตามโรงพยาบาล
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
10
อาคารพาณิชย หองแถว และตามหางสรรพสินคา ซึ่งเปนสถานที่สะดวกและหาไดงาย แตเปนกลุมลูกคาคน
ละแบบ นั่นคือเปนกลุมที่ไมเนนบรรยากาศที่ผอนคลาย สภาพแวดลอมที่สวยงาม แตเปนกลุมที่ตองการ
ความสะดวกรวดเร็ว และประหยัดคาใชจาย
3. อํานาจการตอรองของลูกคา (ผูใชบริการ)
ลูกคาหรือผูมาใชบริการที่สปา จะมีอํานาจการตอรองนอย เนื่องจากวาสถานบริการสปา แตละ
แหงในบริเวณตางๆจะเปดใหบริการไมแพรหลาย คืออาจจะมีเพียงแหงเดียว หรือสองแหงเทานั้น นอกจากนั้น
ความสามารถในการใหบริการของสปากับลูกคายังมีขอจํากัดอีกดวย เพราะในแตละชวงเวลาของแตละวัน
นั้น สปาทั่วไปสามารถรองรับใหบริการลูกคาไดในจํานวนที่จํากัดโดยเฉพาะในชวงบายสามโมงถึงสองทุมเปน
ตน ซึ่งเวลาดังกลาวเปนชวงเวลาที่ลูกคาเขามาใชบริการเปนจํานวนมาก ดังนั้นลูกคาสวนใหญจึงตอง
โทรศัพทมาจองขอใชบริการลวงหนา สวนลูกคาที่ไมไดจองเวลาลวงหนาสวนใหญมักจะนั่งรอหรือไมก็
กลับมาใชบริการในวันหลัง เหตุผลเพราะวาสปาที่เปดใหบริการในแตละบริเวณมีจํานวนจํากัดมากดังที่กลาว
มาแลวขางตน ดังนั้นทําใหการเปลี่ยนสถานที่บริการจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งจะตองมีคาใชจายคอนขางสูง
ทั้งคาน้ํามันและตองเสียเวลาในการเดินทาง นอกจากนั้นผูบริโภคยังไมรูวาบริการหรือสินคาของสปาอีกแหง
หนึ่งจะเปนอยางไร
จากเหตุผลที่จํานวนสปาที่เปดใหบริการนั้น ยังมีจํานวนไมมาก ทําใหการตั้งราคาหรือการขึ้น
ราคาที่เหมาะสมสามารถทําไดงายและผูบริโภคก็ยินดีที่จะจาย เหตุผลหนึ่งคือวาถาลูกคาที่เขามาใชบริการ
นวดแลวเกิดความพึงพอใจกับการนวดนั้นๆ จะสงผลใหลูกคาเกิดความภักดี ทําใหการกําหนดเรื่องราคา
ไมสงผลกระทบมากนัก
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
11
4. อํานาจการตอรองของผูขาย
อํานาจการตอรองของผูขายแยกเปนสามสวนดังนี้
1. ผูใหบริการออกแบบและกอสรางสถานที่
อํานาจการตอรองของผูใหบริการออกแบบและกอสรางสถานที่มีนอย เนื่องจากวาใน
ปจจุบันมีสถาปนิกที่รับออกแบบและผูรับเหมากอสรางอยูจํานวนมาก ทําใหเจาของกิจการมีทางเลือกมาก
ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยทําใหเกิดความตองการที่จะไดงาน ทําใหมีการเสนองานแขงกันซึ่ง
เจาของกิจการจะไดเปรียบจากตรงนี้โดยจะไดราคาที่ต่ําลง
2. ผูขายผลิตภัณฑที่ใชในการทําธุรกิจสปา
อํานาจการตอรองของผูขายผลิตภัณฑที่ใชในการใหบริการในสปามีคอนขางสูง เชน
เครื่องอบตัว ระบบอางจากุซซี่ หองซาวนา และหองอบไอน้ํา เนื่องจากสินคาเหลานี้สวนใหญเปนสินคา
เฉพาะกลุม และตองนําเขาจากตางประเทศโดยที่มีตัวแทนจําหนายในประเทศเพียงไมกี่รายที่นําเขามา ทําให
ทางเลือกของเจาของกิจการมีนอย
3. ผูขายผลิตภัณฑที่ใชในขั้นตอนการนวดและเสริมความงาม
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
12
อํานาจการตอรองของผูขายผลิตภัณฑที่ใชในขั้นตอนการนวดและเสริมความงามมีนอย
เพราะสินคาสวนใหญหลายชนิดสามารถหาซื้อไดภายในประเทศ เชน น้ํามันหอม และสมุนไพร ถึงแมวา
จะตองสั่งซื้อสินคาบางรายการที่ตองนําเขาจากตางประเทศ ทางบริษัทฯหรือสปาทั่วๆไปก็สามารถหาซื้อได
จากตัวแทนจําหนายหลายรายไดในราคาที่ถูก ผูขายบางรายยินดีที่จะใชกลยุทธฝากขายสินคาอีกดวย และ
เนื่องจากสินคาเหลานี้เปนสินคาที่ใชเฉพาะกลุม เปนสินคาที่ไมไดใชหรือสามารถวางขายไดตามตลาดทั่วไป
จึงทําใหผูขายหลายรายจําเปนตองอาศัยและใชชองทางทางดานสปาเปนชองทางหนึ่งในการขายสินคาและ
สรางตราสินคาของตนเองใหเปนที่รูจัก จากเหตุผลดังกลาวทําใหผูขายมีอํานาจการตอรองที่นอยกวา
5. การแขงขัน
การแขงขันในตลาดสปาเปนการแขงขันที่สูง เนื่องจากธุรกิจสปา กําลังไดรับความนิยมอยางสูง
จากผูบริโภค โดยเฉพาะคนไทยทั้งผูหญิงและชายที่เริ่มมีการตื่นตัวและใหความสนใจ ในการดูแลรักษา
สุขภาพมากขึ้น จึงทําใหนักลงทุนเล็งเห็นโอกาสทางธุรกิจและไดทําการเปดกิจการเพิ่มมากขึ้นทั้งในกรุงเทพ
และตางจังหวัด โดยสปาในกรุงเทพนั้นจะเนนตั้งแตภาพลักษณความหรูหราของสถานที่และรวมถึงบริการที่
มีความหลากหลายสิ่งอํานวยความสะดวกที่ครบครัน ในขณะที่ สปาตามตางจังหวัดนั้นจะไมเนนถึงความ
สวยงามในการออกแบบรานความหรูหรามากนัก แตจะเนนการใหบริการที่จัดเตรียมใหลูกคาเทานั้น
จากสภาพตลาดที่มีศักยภาพและโอกาสในการทํากําไร สปาโดยทั่วๆไปจึงใชกลยุทธทาง
การตลาดโดยเฉพาะกลยุทธดานราคา และกิจกรรมสงเสริมการขายตางๆเปนกลยุทธในการทําตลาดและ
แขงขันกับคูแขงขัน อยางเชน การลดราคาพิเศษตอการใชบริการตอครั้ง การซื้อโปรแกรมนวดแบบเปน
แพ็คเกจ เพื่อดึงใหลูกคาเขามาบริการอยางตอเนื่อง และการจําหนายคูปองเพื่อใชเปนสวนลดในครั้งตอๆไป
เพื่อสรางชื่อเสียงใหเปนที่รูจักและสรางขอไดเปรียบในการแขงขัน ดังนั้นเจาของสปา
รายใหญๆจะใชงบประมาณในการนําเสนอสถานที่ และบริการของตนเองโดยการใชสื่อโฆษณาตางๆ
โดยเฉพาะสื่อสิ่งพิมพที่ดูจะตรงกับกลุมลูกคาเปาหมายที่สุดและเปนที่นิยมมากที่สุดในปจจุบัน เชนนิตยสาร
ที่เกี่ยวกับความงาม และเกี่ยวกับสุขภาพ ซึ่งจะชวยสรางตราสินคาใหเปนที่รูจักไดเร็วยิ่งขึ้นพรอมนําเสนอ
กิจกรรมสงเสริมการขายตางๆไปไดพรอมๆกัน
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
13
จากผลการวิเคราะหอุตสาหกรรมสปาขางตน สามารถสรุปไดวา การลงทุนทําธุรกิจสปานั้น
คอนขางยาก การดําเนินธุรกิจสปาใหประสบความสําเร็จไดนั้นก็ตองอาศัยปจจัยหลายอยาง โดยเฉพาะ ทําเล
สถานที่ตั้งสินคาและการใหบริการ การพัฒนารูปแบบการใหบริการ ใหมีความสอดคลองกับพฤติกรรม
ผูบริโภค และที่สําคัญคือจะตองมีจุดเดนเปนของตัวเองเพื่อสรางใหเปนจุดขายและเปนขอไดเปรียบในการ
แขงขัน ซึ่งจะชวยเสริมสรางความแข็งแกรงใหกับตราสินคาในระยะยาว
นอกจากนั้น ผูประกอบการในธุรกิจสปา ตองเนนและเสริมการเพิ่มคุณคาใหมๆ ใหแกผูที่มาใช
บริการ ซึ่งนับวันจะมีการเปลี่ยนพฤติกรรมบอยและมีความตองการในสิ่งตางๆ เพิ่มมากขึ้น
บทที่ 4
การวิเคราะหคูแขง
สภาพการแขงขันของธุรกิจสปานั้น จัดวาอยูในเกณฑสูง ทั้งจากการแขงขันจากธุรกิจแบบ
เดียวกันและการแขงขันจากสินคาทดแทน ดังเห็นไดจากมีการเปดกิจการเพิ่มมากขึ้นทั้งในรูปแบบการ
ใหบริการนวดตามหางสรรพสินคา และหองแถวตางๆ ซึ่งใหบริการเชน การนวดเฉพาะจุด เชน นวดฝาเทา
จนไปถึง สปาที่ใหบริการแบบครบวงจรทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด นอกเหนือจากการเลือกทําเลที่ตั้ง
ซึ่งถือวาเปนจุดยุทธศาสตรในการดําเนินธุรกิจสปาแลว การใชกลยุทธดานราคาและกิจกรรมสงเสริมการขาย
ก็เปน กลยุทธหลักๆ ที่ผูประกอบการเกือบทุกคนนํามาใชในการแขงขัน
ประเภทของสปา
1. Resort Spa และ Hotel Spa
เปนลักษณะของรีสอรทและโรงแรมที่มีการใหบริการสปา สําหรับแขกที่เขาพัก สามารถพบ
เห็นไดทั่วไปตามแหลงทองเที่ยวที่มีชื่อเสียง อาทิเชน หัวหิน และภูเก็ต
2. Day Spa
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
14
เปนรูปแบบสปาที่พบไดทั่วไปในกรุงเทพฯ อาจใชเวลาเพียง 2 ชั่วโมงสําหรับการเขาใชบริการ
หนึ่งอยาง หรือมากที่สุด 1 วัน สําหรับการเขารับบริการแบบครบวงจรทั้งการนวดและดูแลสุขภาพผิว
3. Destination Spa
สถานประกอบการที่ใหบริการแบบเต็มรูปแบบโดยจะใหการบริการดูแลตั้งแตเรื่องอาหารการ
กิน การอยูการนอน การออกกําลังกาย และการใหบริการดานสปา กอนการเขาใชบริการตองมีการสอบถาม
และพูดคุยเพื่อทําความเขาใจลักษณะการใชชีวิตของผูจะเขารับการบริการ เ พื่อที่จะไดสามารถจัดเตรียม
รูปแบบ หรือคอรสการบําบัดที่เปนประโยชนและเหมาะสมกับผูจะเขารับบริการมากที่สุด
4. Medical Spa
เปนรูปแบบที่เนนการทําสปาเพื่อบําบัดและรักษาโรค ซึ่งตองอาศัยผูเชี่ยวชาญเฉพาะทาง อาจ
เปนการบําบัดโดยทางธรรมชาติเพียงอยางเดียว หรือควบคูไปกับการใชยาแผนปจจุบัน
ประเภทของรูปแบบการใหบริการในสปา
โดยทั่วไปรอยละ 70 ของการใหบริการในสปา คือ การนวด ซึ่งรูปแบบการนวด ที่ไดรับความ
นิยมมีทั้งหมด 8 ประเภท
1. การนวดแบบแผนไทย (Thai Massage)
เปนการนวดแบบผสมผสานระหวางการนวดแบบเนนกดจุด ที่เนนการคลึงไปตามรางกายกับ
การนวดแบบยืดเสนยืดสาย แบบกายบริหาร
2. การนวดแบบจีน (Shiatsu)
เปนการกระตุนและบําบัดพลังงาน หรือ “ชี่” ที่ไหลเวียนภายในรางกายใหสมดุลคลายกับการ
นวดแบบไทยแตความหนักหนวงนอยกวา
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
15
3. การนวดแบบญี่ปุน (Reiki)
เปนการนวดที่มีพื้นฐานของความเชื่อที่วา เปนการกระตุนประกอบกับการฟนฟูพลังงาน และ
ผอนคลาย การนวดแบบนี้เนนการกดจุดโดยจะทําการนวดลงบนจุดสําคัญ 16 จุดบนรางกายเทานั้น ไมมีการ
สัมผัสรางกายสวนอื่น
4. การนวดแบบอินเดีย (India Massage)
เปนการกระตุนกลามเนื้อสวนบนของรางกายบริเวณหัวไหล และตนคอควบคูไปกับการนวด
ดวยน้ํามันหอมระเหย เพื่อใหพลังงานไดไหลเวียนทั่วรางกาย
5. การนวดแบบขจัดพิษ (Lymphatic Drainage)
เปนการนวดเพื่อชวยลดอาการบวมน้ํา และกําจัดไขมันสวนเกินที่เรียกวา เซลลลูไลท ชวย
กระตุนการไหลเวียนของโลหิตและกระชับผิว ลักษณะการนวดจะเปนการเคาะและกดตามผิวหนังสวนที่ไม
เรียบเปนลักษณะผิวเปลือกสม
6. การนวดแบบอะโรมาเธอราพี (Aromatherapy)
เปนการนวดที่นิยมกันมาก เปนการนวดแบบผสมผสานระหวางวิธีการนวดแบบโบราณ ซึ่ง
เปนการผอนคลายความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยลา ควบคูกับการใชกลิ่นบําบัด
7. การนวดฝาเทา (Reflexology)
เปนการนวดที่ชวยกระตุนระบบการทํางานของรางกายโดยรวมใหดีขึ้น เนื่องจากฝาเทาเปนจุด
ศูนยรวมของเสนตางๆ ในรางกาย
8. การนวดแบบอัคนีบําบัด (Lastone Therapy)
เปนการใชหินรอน-เย็น วางตามจุดสําคัญของรางกายสลับกัน อุณหภูมิที่ตางกันของหินจะชวย
กระตุนการไหลเวียนของโลหิต ซึ่งจะสงผลใหเซลลในรางกายไดรับออกซิเจนอยางเต็มที่
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
16
จากอัตราและแนวโนมการเจริญเติบโตของธุรกิจสปาที่กําลังเพิ่มสูงขึ้น ทําใหนักลงทุนใหความ
สนใจและเปดสปาเพิ่มมากขึ้นไมวาจะอยูในโรงแรมหรือรีสอรทตางๆแลว ยังมีการเปดกิจการแบบ
สแตนอโลนเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะสปาที่จัดอยูในประเภทของ Day Spa และ Destination Spa
คูแขงทางตรง
ผลการสํารวจคูแขงในยานบริเวณถนนบางนา-ตราด และเขตใกลเคียงกัน พบวามีคูแขงที่เปน
คูแขงหลักเพียงหนึ่งแหงเทานั้นคือ Health Land Spa ซึ่งตั้งอยูในระหวางในซอยอุดมสุข 60 และถนน
ศรีนครินทร Health Land Spa จัดเปนสปาประเภท Medical Spa ที่เปดใหบริการมาแลวมากกวา 2 ป และเปน
ที่รูจักเปนอยางดีของผูบริโภคบริเวณนั้น
สําหรับจุดแข็งและจุดออนของ Health Land Spa สาขาถนนศรีนครินทร สามารถวิเคราะหได
ดังนี้
จุดแข็ง
1. มีชื่อเสียงเปนที่รูจักแพรหลาย (ปจจุบันมี 2 สาขา ที่ถนนสาธร)
2. การเดินทางสะดวก สามารถเขาไดจากทางดานถนนศรีนครินทร และทางถนนสุขุมวิท
3. มีแพทยอายุรเวช คอยใหคําปรึกษากับลูกคาที่มาใชบริการ
4. มีบริการขายอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพที่หลากหลาย
5. มีแหลงเงินทุนสูง
6. ผูบริหารงานและทีมงานมีประสบการณและความชํานาญในธุรกิจ
จุดออน
1. กลุมลูกคาใหมจะสังเกตหรือหาสถานที่ตั้งไดยากเนื่องจากรานตั้งอยูในซอยไมมีปายบอก
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
17
2. ขาดความหลากหลายในการนวด เชน ไมมีบริการนวดหนา
3. ขาดความหลากหลายของวิธีการนวด เชน ไมมีบริการนวดหนา นวดแบบจีน และญี่ปุน
4. ไมมีใหบริการอางจากุซซี่ อางน้ําเย็น หองอบซาวนา และหองอบไอน้ําสําหรับผูบริโภคที่ใชบริการ
นวดแบบทั่วไป
5. ลูกคาไมไดรับการบอกวาสามารถเลือกน้ํามันหอมกลิ่นตางๆได เมื่อเลือกบริการนวดแบบ
อะโรมาเธอราพี
คูแขงทางออม
1. สถานเสริมความงามหรือรานเสริมสวยที่มีบริการนวด
2. สปอรทคลับ หรือศูนยออกกําลังกาย
3. การฝกเตนโยคะ
4. การวิ่งหรือเตนแอโรบิคในสวนสุขภาพ หรือสวนสาธารณะ
5. การใหบริการนวดฝาเทาในหางสรรพสินคา
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
18
บทที่ 5
ปจจัยสําคัญสูความสําเร็จ
ในสภาพตลาดที่มีการแขงขันที่รุนแรง การดําเนินธุรกิจสปาเพื่อใหประสบความสําเร็จไดตาม
เปาหมายนั้นตองมีกลยุทธทางการตลาดที่ดีและอาศัยปจจัยที่สําคัญคือ
1. มีทําเลที่ตั้งของสถานที่ที่เดินทางไปมาไดสะดวก และสามารถสังเกตเห็นไดงาย
2. มีสินคาและบริการที่สามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภคไดดี เชน ใหบริการ
คําแนะนําดูแลสุขภาพที่ถูกตองใหกับผูมาใชบริการ เพื่อสรางความประทับใจและสรางลูกคาใหเกิดความ
จงรักภักดี
3. มีจุดเดนที่เปนขอไดเปรียบในการแขงขัน
4. มีความพรอมดานบุคลากร
5. กิจกรรมทางการตลาดที่ตองตรงกับกลุมลูกคาเปาหมายหลัก
6. มีการปรับปรุงสถานที่หรือพัฒนาสินคาและบริการใหทันตอพฤติกรรมของผูบริโภคที่อาจ
เปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา
สําหรับสินคาและบริการที่เปนหนึ่งในปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการทําธุรกิจดานสปา มี
รายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
19
หมวดสินคา
1. น้ํามันหอม
2. โคลนหมักและพอกตัว
3. โลชั่นบํารุงผิว
4. สมุนไพรบํารุงรางกาย
หมวดบริการ
1. การนวด 4 แบบ ไดแก
1.1 นวดแบบไทย
1.2 นวดแบบอะโรมาเธอราพี
1.3 นวดหนา
1.4 นวดฝาเทา
1.5 นวดบําบัด
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
20
2. การใหบริการเสริมความงาม
2.1 การขัดและอบผิวสมุนไพร
2.2 การทําทรีตเมนต
- Full Body Treatment
เปนวิธีที่มีการใชผลิตภัณฑเพื่อดูแลรางกายใหดีขึ้น ไมใชการบําบัดรักษาปญหาใดๆ ทั้งสิ้น แต
เปนเนนเสริมสรางรางกายใหแข็งแรง
- Spot Treatment
เปนการทําทรีตเมนตเฉพาะสวนของรางกาย เชน บริเวณหลัง หนาอก แขน และรวมถึงการทํา
ทรีตเมนตพิเศษเชน เซลลูไลท เปนตน
3. พนักงานนวด (Therapist)
ใหบริการในรูปแบบการนวดตางๆที่ผานการอบรมและทดสอบความสามารถในการนวด
3.1 พนักงานนวดแบบแผนไทย
3.2 พนักงานนวดแบบอะโรมาเธอราพี
3.3 พนักงานนวดแบบบําบัด
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
21
4. สิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการผอนคลาย
4.1 แยกสวนของผูชายและผูหญิง
4.2 หองนวดแบบรวม
4.3 หองนวดแยกสวนตัวแบบทั่วไปและแบบวีไอพี
4.4 หองทําทรีตเมนท
4.5 หองอบไอน้ําแบบรวม
4.6 หองอบซาวนาแบบรวม
4.7 อางจากุซซี่ และอางน้ําเย็น
4.8 หองอาบน้ํา และล็อคเกอรสวนตัว
4.9 หองรับแขก สําหรับพักผอนระหวางรอรับการใหบริการ
4.10 บริการเครื่องดื่ม
5. การใหคําแนะนํา
5.1 มีการจัดเตรียมเอกสารสําหรับการดูแลและรักษาสุขภาพที่ถูกตอง
5.2 คูมือเกี่ยวกับวัตถุประสงคและประโยชนของการเขารับบริการในสปา และการนวดในแบบตางๆ
เพื่อสรางใหลูกคาเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
22
บทที่ 6
การวิจัยตลาด
วงจรชีวิตธุรกิจสปา
จากการวิเคราะหสภาพตลาดและวงจรชีวิตธุรกิจพบวา ธุรกิจสปาจัดอยูในชวงที่มีอัตราการ
เติบโตสูง เนื่องจากแนวโนมของผูบริโภคจํานวนมากมีความตื่นตัว และระวังดูแลรักษาสุขภาพเพิ่มมากขึ้น
มีสถานประกอบการเปดใหบริการเพิ่มขึ้นมากมายทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด ประกอบกับธุรกิจ
ขางเคียงอยางเชน ศูนยออกกําลังกาย (Fitness Center) ก็มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นตามไปดวย
ดังนั้นผูประกอบการธุรกิจดานสปา จะสามารถแขงขันในตลาดไดนั้นจําเปนตองหาจุดแข็งของ
ตัวเองใหไดและพัฒนาจุดแข็งนั้นใหเปนขอไดเปรียบเหนือคูแขง เนนสรางความแตกตางหรือปรับปรุงการ
ใหบริการที่ดีอยูตลอดเวลา นอกจากนั้นตองทําการวิจัยและศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคเปนระยะๆ เพื่อ
เตรียมตัวหรือปรับตัวใหเขากับความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นไดตลอดเวลา ตองมีการทําการวิเคราะห
คูแขงขัน เพื่อหากลยุทธทางการตลาดที่เหมาะสมและแขงขันได เชน ราคา สินคาหรือบริการใหมๆ เพื่อสราง
ความแข็งแกรงและอยูรอดในสภาพของตลาดที่นับวันจะมีความรุนแรงมากขึ้น
การวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค
ผลการวิจัยตลาดโดยการใหกลุมลูกคาเปาหมายทําแบบสอบถามจํานวน 140 คน เพื่อสอบถาม
ความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่เปนเหตุผลจูงใจตอการตัดสินใจในการเขารับบริการในศูนยสงเสริมสุขภาพ
(สปา) ซึ่งสามารถสรุปผลได ดังนี้
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
23
1. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจในการเลือกใชบริการ
- รอยละ 34 ของผูบริโภคเลือกสถานที่ตั้งและการออกแบบตกแตงรานเปนปจจัยที่มีผลตอการ
ตัดสินใจเขารับบริการ
- รอยละ 28 ของผูบริโภคเลือกรูปแบบของการใหบริการเปนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเขารับ
บริการ
- รอยละ 20 ของผูบริโภคเลือกชื่อเสียงและบุคลากรเปนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเขารับบริการ
- รอยละ 18 ของผูบริโภคเลือกราคาและกิจกรรมสงเสริมการขายเปนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเขา
รับบริการ
จากขอมูลตามแผนภูมิขางตนสรุปไดวา ทําเลสถานที่ตั้งและการออกแบบราน เปนปจจัยที่สําคัญ
ที่สุดที่ผูบริโภคใชในการตัดสินใจเลือกใชบริการ อยางไรก็ตามรูปแบบของการใหบริการก็มีความสําคัญตอ
การตัดสินใจเหมือนกัน ดังนั้นกลยุทธทางการตลาดหลักๆที่เปนกลยุทธที่สําคัญ และตองเนนใหความสําคัญ
เพื่อสรางขอไดเปรียบในการแขงขันคือ กลยุทธดานการกระจายสินคา (ในกรณีนี้คือ การหาทําเลที่ตั้งที่
เหมาะสม การเดินทางไปมาสะดวกและมีความปลอดภัย) และกลยุทธดานสินคาและบริการ
2. ปจจัยยอยของแตละปจจัยหลักที่มีผลตอการตัดสินใจในการเลือกใชบริการ
2.1 ปจจัยทางดานสถานที่ตั้งและการออกแบบราน
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับความสะดวกในการเดินทางมากเปนอันดับแรกทั้งหมด 108 คน
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับสภาพแวดลอมของสถานที่ตั้งเปนอันดับสองทั้งหมด 104 คน
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับสิ่งอํานวยความสะดวกเปนอันดับสามทั้งหมด 80 คน
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับแนวคิดและการจัดสถานที่เปนอันดับสี่ทั้งหมด 72 คน
จากขอมูลในแผนภูมิขางตน สรุปไดวา ผูบริโภคใหความสําคัญมากเกี่ยวกับทําเลที่ตั้งของราน
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
24
ซึ่งจะตองมีความสะดวกในการเดินทางไปมา ผูบริโภคสามารถเขาถึงไดงาย นอกจากนั้นสภาพแวดลอมและ
ความปลอดภัยของทําเลที่ตั้งก็เปนสิ่งที่สําคัญอีกประการที่ผูประกอบการตองคํานึงถึง ในสวนของสิ่งอํานวย
ความสะดวกและแนวความคิดในการจัดสถานที่ถือเปนเรื่องที่สําคัญรองๆ ลงมา
2.2 ปจจัยทางมาตรฐานการยอมรับและบุคลากร
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับความชํานาญหรือผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเปนอันดับแรกทั้งหมด
124 คน
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับการบริการและใหคําแนะนําเปนอันดับสองทั้งหมด 108 คน
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับการแตงกายและบุคคลิกของพนักงานเปนอันดับสามทั้งหมด 72
คน
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับชื่อเสียงของสถานประกอบการเปนอันดับสี่ทั้งหมด 44 คน
จากขอมูลแผนภูมิขางตนสรุปไดวาความชํานาญของพนักงาน และการใหคําแนะนําในเรื่อง
ตางๆ กับผูบริโภคนั้นเปนสิ่งที่สําคัญมาก เนื่องจากวาผูที่มาใชบริการในสปา เพื่อตองการความผอนคลายทั้ง
รางกายและจิตใจ นั้นสวนมากนั้นยังไมคอยมีความรูและเขาใจถึงขอดีหรือประโยชนของการใชบริการใน
สปา หรือกระทั่งวิธีการนวดในแบบตางๆ ที่แทจริง ในสวนของบุคลิกการแตงกายของพนักงาน และเรื่อง
ชื่อเสียงของพนักงานนั้นก็มีความสําคัญรองลงมา ซึ่งสิ่งเหลานี้ถึงแมไมไดเปนสิ่งที่ผูบริโภคใหความสําคัญ
สูงสุด แตเปนสิ่งที่ชวยเสริมสรางภาพพจนที่ดีและความนาเชื่อถือของบริษัทฯ ไดอีกทางหนึ่ง
2.3 ปจจัยทางดานรูปแบบของการใหบริการ
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับความปลอดภัยและความนาเชื่อถือเปนอันดับแรกทั้งหมด 116 คน
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับความทันสมัยของเครื่องมือและอุปกรณเปนอันดับสองทั้งหมด 92 คน
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับความหลากหลายของรูปแบบการบริการเปนอันดับสามทั้งหมด 80 คน
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
25
จากขอมูลแผนภูมิขางตนสรุปไดวา ผูเขามาใชบริการในสปาใหความสําคัญกับความปลอดภัยและ
ความนาเชื่อถือในการเขารับบริการ เนื่องจากวาบริการหลักๆ ในสปาคือการใหบริการนวด ซึ่งการนวดในแต
ละแบบนั้นจะตองมีการนวดหรือสัมผัสเสนตางๆ ของรางกาย ดังนั้นพนักงานนวดตองอธิบายหรือใหความ
มั่นใจกับลูกคา และอุปกรณตางๆ ที่ใชตองสะอาดถูกสุขลักษณะและปลอดภัย สวนของความทันสมัยของ
เครื่องมือและอุปกรณถึงจะมีเปนสิ่งที่สําคัญรองลงมา แตสิ่งเหลานั้นเปนตัวที่จะชวยเสริมใหการบริการมี
ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ประหยัดเวลาและขั้นตอนในการทํางาน และอาจจะเปนจุดที่เปนขอไดเปรียบใน
การแขงขันอีกดวย สําหรับความหลากหลายของรูปแบบการใหบริการนั้น ทางบริษัทฯ เล็งเห็นวาความ
หลากหลายของบริการจะเปนการเสริมสรางภาพพจนที่ดีที่สามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภค
นอกจากนั้นยังสะทอนภาพของความเปนมืออาชีพอีกดวย
2.4 ปจจัยทางดานราคาและรายการสงเสริมการขาย
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับการใหสวนลดพิเศษในรูปแบบตางๆเปนอันดับแรกทั้งหมด
96 คน
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับการใหความรูทางดานสุขภาพและอนามัยเปนอันดับสองทั้งหมด
80 คน
- ผูบริโภคใหความสําคัญกับการจัดใหมีกิจกรรมรวมกับบัตรเครดิต ทัวร และโรงแรมเปนอันดับ
สามทั้งหมด 36 คน
จากขอมูลแผนภูมิขางตนสรุปไดวา ผูบริโภคมีโอกาสที่จะถูกกระตุนใหเกิดการทดลองใชบริการ
ในสปาไดงาย จากสวนลดพิเศษที่ทางรานนําเสนอให สวนการใหความรูทางดานสุขภาพและอนามัยกับ
ผูบริโภคก็เปนบริการเสริมที่สําคัญที่ชวยใหผูบริโภคมีความรูและความเขาใจ กระตุนใหมีการตื่นตัวและเริ่ม
หันมาใสใจสุขภาพมากขึ้น ถึงแมวาจะมีความสําคัญนอยกวาสวนลดราคาพิเศษ ในสวนของกิจกรรมที่เขา
รวมกับบริษัทผูออกบัตรเครดิต ทัวร หรือโรงแรมนั้นไมคอยเปนที่นาสนใจหรือเปนประเด็นที่ผูบริโภคจะ
พิจารณาเลือกใชบริการ
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
26
2.5 คาใชจายเฉลี่ยตอครั้งในการใชบริการ
- ผูบริโภคที่ใชจายเฉลี่ยตอครั้งนอยกวา 500 บาทมีทั้งหมด 44 คน คิดเปนรอยละ 31
- ผูบริโภคที่ใชจายเฉลี่ยตอครั้งระหวาง 501-1,500 บาทมีทั้งหมด 56 คน คิดเปนรอยละ 40
- ผูบริโภคที่ใชจายเฉลี่ยตอครั้งระหวาง 1,501-3,000 บาทมีทั้งหมด 32 คน คิดเปนรอยละ 23
- ผูบริโภคที่ใชจายเฉลี่ยตอครั้งมากกวา 3,000 บาทขึ้นไปมีทั้งหมด 8 คน คิดเปนรอยละ 6
จากขอมูลแผนภูมิขางตนสรุปไดวากลุมลูกคาที่ใชบริการในสปาเปนกลุมลูกคาที่มีอํานาจในการซื้อ
ที่คอนขางสูงซึ่งทําใหรานคาสามารถตั้งราคาคาใชบริการไดสูง
กลุมลูกคาเปาหมาย
เนื่องจากตลาดสปามีการแขงขันสูง ดังนั้นการดําเนินธุรกิจจึงตองมีการวางแผนและกําหนด
กลยุทธทางการตลาดอยางรอบคอบชัดเจน และมีประสิทธิภาพ ซึ่งหนึ่งในกระบวนการดังกลาวคือ การ
กําหนดกลุมลูกคาเปาหมายใหชัดเจน เพื่อที่จะสามารถวางแผนการตลาดตางๆไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน
กลยุทธดานราคาหรือสินคาและบริการ และเนื่องจากตลาดสปาจัดวาเปนธุรกิจใหมซึ่งยังมีผูบริโภคจํานวน
มากที่ไมรูจักวาสปาคืออะไรและมีบริการอะไรบาง ดังนั้นดวยเงินงบประมาณที่จํากัดจึงตองมีการวาง
แผนการลงทุนใหมีประสิทธิผลสูงสุด นั้นก็คือตองเนนการลงทุนไปที่เฉพาะกลุมลูกคาเปาหมายเทานั้น
มิฉะนั้นจะทําใหการลงทุนไมไดผลตามที่ตองการ เสียเวลาและเสียโอกาสในการทําตลาด
สําหรับรายละเอียดทางดานประชากรศาสตรของกลุมลูกคาเปาหมายมีดังนี้
• กลุมหลัก (Primary)
- เพศหญิง และชาย (หญิง 60% และชาย 40%)
- สัญชาติไทย
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
27
- อายุระหวาง 25 – 45 ป
- อาชีพพนักงานของบริษัททั่วไป และเจาของกิจการ
- การศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป
- มีรายไดตั้งแต 30,000 บาทขึ้นไป
- อาศัยอยูในบริเวณเขตบางนาและภายในรัศมี 10 กิโลเมตร
• กลุมรอง (Secondary)
- เพศหญิง และชาย
- สัญชาติไทย
- อายุระหวาง 18 – 24 ป
- นักศึกษาในระดับอุดมศึกษา และพนักงานบริษัททั่วไป
- มีรายไดระหวาง 15,000-30,000 บาท
- อาศัยอยูในบริเวณเขตบางนาและภายในรัศมี 10 กิโลเมตร
• ขอมูลทางจิตวิทยา (Psychological)
- กลุมลูกคาเปาหมายตองเปนคนที่ใหความสนใจและดูแลสุขภาพของตนเอง ไมเพียงแต
ตองการการคลายความเครียด แตตองการฟนฟูสุขภาพรางกายและจิตใจดวย
- กลุมลูกคาเปาหมายจะเปนคนที่มีความมั่นใจในตัวเอง
- ตองการเปนที่ยอมรับในสังคมและหมูเพื่อนฝูง
- ชอบงานสังสรรคหรือสังคมกับเพื่อน
ขนาดของตลาด
ตลาดสปาเปนตลาดที่มีความนาสนใจและมีศักยภาพ ตลาดมีอัตราการเติบโตสะสมสูงมาก ถึง
2,228
3,655
0
1000
2000
3000
4000
2543 2545
ลานบาท
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
28
รอยละ 64 ในชวงป 2543-2545 ที่ผานมา โดยในป 2545 นั้นตลาดมีมูลคารวมอยูที่ 3,655 ลานบาท (แหลง
ขอมูล : Thai Spa Association, www.bangkokpost.net)
จากผูประกอบการทั้งหมดประมาณ 250 ราย ทั่วประเทศ โดยรายไดที่ไดจากการใชบริการใน
สปาประมาณ2,924 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ80 ของตลาดรวมทั้งหมดเปนรายไดที่ไดมาจากนักทองเที่ยว
ชาวตางชาติที่เขามาใชบริการโดยเฉพาะตามโรงแรมและรีสอรทตางๆ ตามสถานที่ที่เปนแหลงทองเที่ยวที่มี
ชื่อเสียง และรายไดประมาณ 741 ลานบาท ไดมาจากผูบริโภคภายในประเทศ
แผนภูมิแสดงสัดสวนตลาดโดยแบงกลุมลูกคา
ดังนั้นจากแนวโนมการเติบโตทางธุรกิจทางบริษัทฯไดมีการคาดการณวาตลาดสปานาจะมีอัตรา
การเติบโตอยางตอเนื่อง และตลาดจะมีมูลคารวมอยูที่ประมาณ 4,200 ลานบาทในป 2547 เหตุผลเนื่องจาก
สภาพเศรษฐกิจที่ฟนตัวดีขึ้น ผูบริโภคมีการใชจายมากขึ้น และที่สําคัญมีการเปดใหมีบริการสปาในโรงแรม
และรีสอรทเกือบทุกแหงเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีการขยายตัวของสปาในรูปแบบสแตนอโลนโดยเฉพาะ
ในจังหวัดกรุงเทพมหานครและจังหวัดใหญในแตละภาคซึ่งภาครัฐก็ไดสงเสริมการลงทุนในธุรกิจขนาดเล็ก
ถึงขนาดกลาง (SME) และนอกจากนั้นรัฐบาลยังใชงบประมาณในการสงเสริมการทองเที่ยวเพื่อดึงดูด
ชาวตางชาติใหเขาประเทศ
20%
80%
ลูกคาชาวตางชาติ
ลูกคาคนไทย
ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
29
ยอดขายประมาณการ
จากมูลคาตลาดรวมของสปา 3,655 ลานบาท ในป 2545 ธุรกิจสปาที่ตั้งในโรงแรมและรีสอรท
มีสวนแบงทางการตลาดอยูมากถึงรอยละ 80 หรือประมาณ 2,924 ลานบาท และสปาที่ตั้งอยูในรูปสแตน
อโลน มีสวนแบงทางการตลาดอยูที่ประมาณรอยละ 20 หรือ 731 ลานบาท
ทางบริษัท The Spa คาดการณวาตลาดจะมีมูลคาประมาณ 4,200 ลานบาทในป 2547 แตสวน
แบงของตลาดนาจะมีสัดสวนที่เปลี่ยนแปลงไปในป 2546 โดยธุรกิจสปาที่ตั้งในโรงแรมและรีสอรทจะมี
สวนแบงทางการตลาดอยูที่ประมาณ รอยละ 70 ในขณะที่สปาที่ตั้งอยูในรูปสแตนอโลนจะมีสวนแบงทาง
การตลาดอยูที่ประมาณรอยละ 30 เนื่องจากมีการขยายตัวทางธุรกิจจากนักลงทุนเพิ่มมากขึ้น ทางบริษัท The
Spa ไดประมาณการณยอดขายอยูที่ 13 ลานบาท ในป 2547
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa

More Related Content

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa

  • 1. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 1 บทที่ 1 บทสรุปสําหรับนักลงทุน ตั้งแตภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทยถดถอย ไดมีความพยายามที่จะดึงเงินตราจากตางประเทศ เขามาในรูปแบบของบริการการทองเที่ยว ยิ่งในภาวะที่โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรงหรือซารสเปน ปญหาในยานเอเซีย ทําใหนักเดินทางมาประเทศไทยลดนอยลง รัฐบาลจึงตองหากลยุทธตางๆ มาใชเพื่อ ดึงดูดนักทองเที่ยวใหเขามามากขึ้น หนึ่งในนั้นคือ การทองเที่ยว เนื่องจากโรงแรมในประเทศไทยมีการ บริการที่ดี และกิจการสปาก็กําลังเปนที่แพรหลายตามโรงแรมและรีสอรทตางๆ มากมายจึงเปนจุดขายอีก แบบหนึ่งที่หวังจะดึงเงินตราเขาประเทศ แตกอนที่ชาวตางชาติจะเขามาใชบริการ คนไทยเองก็ไดเริ่มมีความ นิยมและมีการใชบริการเพิ่มขึ้นบางแลว ในสภาพสังคมที่มีการแขงขันสูงไดสรางความเครียดในการทํางานหรือการดําเนินธุรกิจ และ ปญหาดานสุขภาพมากขึ้น ทําใหพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผูบริโภคเปลี่ยนแปลงไปอยางมากโดยเฉพาะ ความตองการความผอนคลายในรูปแบบตางๆ จากขอมูลศูนยวิจัยกสิกรไทยพบวา คนในกรุงเทพมหานคร มากกวารอยละ 48 หันมาใชวิธีทางธรรมชาติในการบําบัด ทําใหตลาดการดูแลรักษาสุขภาพมีการขยายตัว มากขึ้น ตลาดสปาเปนตลาดที่มีมูลคาและมีแนวโนมการเจริญเติบโตที่สูง โดยในป 2545 ตลาดมีมูลคา รวมอยูที่ 3,655 ลานบาท และมีอัตราการเติบโตสูงมากถึงรอยละ 64 ในชวงป 2543 - 2545 ที่ผานมา จาก ผูประกอบการทั้งหมดประมาณ 250 ราย โดยที่รายไดประมาณ 2,294 ลานบาท หรือรอยละ 80 ของตลาด รวม ไดมาจากนักทองเที่ยวชาวตางชาติที่เดินทางเขามาทองเที่ยวและทําธุรกิจ และจากแนวโนมการเติบโต ทางธุรกิจสปานี้เอง ทําใหมีการคาดการณวาตลาดสปานาจะมีอัตราการเติบโตอยางตอเนื่องตอไปอีก 3 ป ขางหนา โดยตลาดนาจะมีมูลคารวมอยูที่ประมาณ 4,200 ลานบาท สวนหนึ่งที่ทําใหตลาดเติบโตก็ เนื่องมาจากการเปดใหมีบริการสปาในโรงแรมและรีสอรทเกือบทุกที่เพิ่มมากขึ้น
  • 2. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 2 จากการที่สปาไดกลายมาเปนตลาดที่มีศักยภาพ ในการที่มีอัตราการเติบโตสูงและมีแนวโนม ของผูบริโภคที่ตองการการผอนคลายเพิ่มมากขึ้น ในขณะเดียวกันสปาที่เปดใหบริการยังมีจํานวนไมมากนัก โดยเฉพาะสปาที่เปดแบบสแตนอโลน ดังนั้นจึงทําใหบริษัท The Spa มองเห็นแนวทางและโอกาสที่จะ ประสบความสําเร็จในการลงทุนทําธุรกิจประเภทนี้ อยางไรก็ตาม ถึงแมวาจะมีจํานวนสปาที่เปดใหบริการยัง มีไมมากนัก แตอุตสาหกรรมนี้กําลังตกอยูในสภาพการแขงขันที่รุนแรง ดังนั้นการที่จะดําเนินกิจการให ประสบความสําเร็จจําเปนตองอาศัยปจจัยหลายอยางดวยกัน เชน ทําเลที่ตั้ง ราคาคาใชบริการ สินคาและการ บริการ แตที่สําคัญที่สุดไดแก การเลือกทําเลสถานที่ตั้งและการสรางจุดขายที่โดดเดนแตกตางจากคูแขงและ เปนขอไดเปรียบในการแขงขัน และจากปจจัยเหลานี้เองที่ทําใหทาง The Spa ซึ่งเปนรูปแบบของ Destination Spa ขนาดพื้นที่ใหบริการ 2,000 ตารางเมตร มีความมั่นใจที่จะสามารถดําเนินและประสบความสําเร็จใน ธุรกิจสปาได เนื่องจากปจจัยที่สําคัญเชน ทําเลที่ตั้งของ The Spa ที่จะเปดใหบริการตั้งอยูที่ถนน บางนา- ตราด ซึ่งตั้งอยูบนพื้นที่ดานหนาของตึกไพโรจนกิจจา หางจากเซ็นทรัลบางนาไปประมาณ 100 เมตร บริเวณ พื้นที่ดานหนาติดกับถนนใหญ จึงเปนทําเลที่เดินทางไปมาสะดวกและผูที่เดินทางไปมาบริเวณนั้นสามารถ สังเกตเห็นไดงาย นอกจากนั้นยังมีการใหบริการที่ครบวงจร เชน บริการนวด และเสริมความงาม โดยเฉพาะ บริการนวดที่ทาง The Spa จัดใหมีการนวดที่บาน (Spa Delivery) เปนจุดเดนแตกตางจากสปา ทั่วไป ซึ่งจะ ชวยอํานวยความสะดวกใหกับผูบริโภค ที่ตองการการผอนคลายแตไมตองเดินทางออกจากบาน และการ ตกแตงสถานที่ทั้งภายนอกและภายในที่ลงตัว โดยการผสมผสานระหวางดีไซนที่ทันสมัย และความเปน ธรรมชาติ สงบ เพื่อใหผูบริโภคเกิดความมั่นใจในสถานที่ และรูสึกผอนคลายเมื่อเขามาใชบริการ ทางบริษัท The Spa เล็งเห็นวากลุมลูกคาเปาหมายในยานถนนบางนา-ตราด เขตบางจาก เขต พระโขนง และศรีนครินทร เปนกลุมลูกคาที่มีอํานาจซื้อและมีจํานวนมากพอสมควร โดยเฉพาะยานบางนา- ตราด และศรีนครินทรที่มีโครงการหมูบานจัดสรรเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก ซึ่งทางบริษัทฯ มั่นใจวาสามารถ ดึงดูดและรองรับใหบริการลูกคาเปาหมายไดเปนอยางดี ในสวนของคูแขงขันนั้น จากการสํารวจตลาดพบวาในบริเวณใกลเคียงกันมีคูแขงเพียงหนึ่งราย เทานั้นที่ทาง The Spa จัดใหเปนคูแขงที่สําคัญ ซึ่งไดแก Health Land Spa ตั้งอยูบนถนนศรีนครินทร สามารถเดินทางไดทั้งจากดาน ซอยอุดมสุข 60 และทางถนนศรีนครินทร Health Land เปนสปาที่เปด
  • 3. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 3 ใหบริการมากกวา 2 ป จึงทําใหเปนที่รูจักของกลุมลูกคา แตเนื่องจากวาทําเลตั้งอยูในซอย ทําใหผูบริโภค รายใหมๆ ที่อยากทดลองใชบริการสังเกตเห็นไดยาก จากจุดออนขอนี้ทําใหทางบริษัท The Spa เชื่อมั่นวา จะเปนสปาที่ใหบริการและตอบสนองความตองการกับกลุมผูบริโภครายใหมที่ตองการเขามาทดลองใช บริการไดดีกวาคูแขง ดานการลงทุนและบริหารการเงิน ทางบริษัท The Spa ไดวางแผนการจัดการอยางมี ประสิทธิภาพ โดยจะควบคุมตนทุนขายและคาใชจายในดานตางๆใหอยูในระดับที่ไมสูงจนเกินไป เนนการ ลงทุนและใชจายใหตรงกับกลุมลูกคาเปาหมายใหไดมากที่สุด และชวยเพิ่มยอดการใชบริการไดอยางมี ประสิทธิผล ทางบริษัท The Spa ไดวางแผนการดําเนินงานวาโครงการจะเริ่มกอสรางในเดือนกันยายน 2546 และคาดวาแลวเสร็จพรอมเปดใหบริการใหกับลูกคาไดภายในเดือนมกราคม 2547 1. วางแผนที่จะใชเงินลงทุนทั้งสิ้นประมาณ 22 ลานบาท โดยแบงสัดสวนของการลงทุนสวน ของเจาของประมาณ 12 ลานบาท และสวนของเงินกูธนาคาร 10 ลานบาท 2. มียอดขายปแรก 13 ลานบาท 3. สรางผลกําไรไดตั้งแตสิ้นปที่หนึ่ง 4. มียอดขายเติบโตตอเนื่องประมาณรอยละ 20 ตอป 5. สามารถคืนทุนไดภายในระยะเวลาประมาณ 3 ป 6. มีคา NPV อยูที่ 23.8 ลานบาท 7. มี IRR อยูที่รอยละ 34
  • 4. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 4 บทที่ 2 ตลาดสปา สภาพตลาดปจจุบัน • วิธีการดูแลสุขภาพและการผอนคลายความเครียด สภาพเศรษฐกิจสังคมและการแขงขันเชิงธุรกิจในปจจุบันกอใหเกิดความเครียดและปญหาดาน สุขภาพไมวาจะอยูในสถานะภาพของเจาของกิจการหรือลูกจางเองก็ตาม จึงเปนเหตุผลใหผูบริโภคเริ่มสนใจ และเอาใจใสดูแลและรักษาสุขภาพอยางจริงจังเพิ่มขึ้น ผูบริโภคเหลานี้มีทางเลือกที่จะดูแลสุขภาพ และมีวิธีการผอนคลายไดหลายรูปแบบ เชน การ เขาศูนยกีฬา วิ่ง และเตนแอโรบิคตามสวนสาธารณะ การฝกโยคะ การไปดูหนังหรือเดินซื้อของตาม หางสรรพสินคา แตวิธีการผอนคลายที่กําลังมาแรงและเปนที่นิยมอยางแพรหลายคือ การเขามาใชบริการ ในสปา ซึ่งนอกจากจะทําใหผูบริโภคคลายความเครียดแลว การบริการบางประเภทในสปายังเปนการเสริม สุขภาพใหแข็งแรงอีกดวย แตเนื่องจาก 1 - 2 ปที่ผานมา ธุรกิจสปาที่เปดใหบริการสวนใหญจะอยูในโรงแรมและรีสอร ทตามสถานที่ทองเที่ยว ทําใหผูบริโภคบางสวนไมสะดวกที่จะไปใชบริการ นอกจากนี้ อัตราคาบริการของ บรรดาธุรกิจสปาซึ่งตั้งอยูในโรงแรมและรีสอรทดังกลาวก็มีราคาที่สูงมาก ทําใหเปนอุปสรรคของสถาน บริการเหลานี้ที่ตองมุงการทําตลาดเปาหมายของตนไปที่ผูบริโภคระดับสูงเทานั้น ดังนั้นถามีบริการสปาที่ เปดแบบสแตนอโลนเพิ่มมากขึ้นและมีอัตราคาบริการปานกลาง ก็จะเปนทางเลือกที่ดีสําหรับผูบริโภคที่ใส ใจสุขภาพและตองการใชบริการ
  • 5. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 5 • โอกาสทางธุรกิจ จากปจจัยที่เอื้ออํานวยหลายอยางในการลงทุนเชน ตลาดที่มีมูลคาสูงถึง 3,655 ลานบาท มีอัตรา การเติบโตสูงอยางตอเนื่องประมาณ รอยละ 40 ตอป และจากชองวางของสภาพตลาดสวนใหญที่มีการเปด สปาในเฉพาะสวนของโรงแรมและรีสอรทและมีราคาคาใชบริการที่สูง แนวโนมของผูบริโภคที่เริ่มหันมาดูแลรักษาสุขภาพ และหาวิธีการผอนคลายดวยการใช สมุนไพรมีมากขึ้น ซึ่งหนึ่งในนั้นคือน้ํามันหอมที่ใชนวด ที่มีสรรพคุณในการชวยบําบัดรักษาอาการตางๆ ได พรอมกับใหกลิ่นหอมชวยใหรูสึกผอนคลายยิ่งขึ้น นอกจากนั้นการหาแหลงเงินกูเพื่อมาลงทุนในธุรกิจก็ สามารถทําไดงายกวาสมัยกอน เนื่องจากภาครัฐมีนโยบายสงเสริมธุรกิจขนาดกลางและเล็ก จากปจจัยทั้งหมดที่กลาวถึงนี้ ทําใหทางบริษัท The Spa เล็งเห็นโอกาสในการดําเนินธุรกิจและ เปนการสรางใหผูบริโภคมีทางเลือกเพิ่มมากขึ้นในการเลือกดูแลรักษาสุขภาพและการผอนคลายดวยวิธี ธรรมชาติ ลักษณะธุรกิจ 1. วิสัยทัศน นําเสนอสินคาและบริการที่มีคุณภาพ โดยมุงเนนการสรางความพึงพอใจและเพิ่มคุณคา ใหกับลูกคาทุกคนที่เขามาใชบริการ 2. ภารกิจ เปนสถานบริการแบบ Destination Spa ที่ใหบริการการผอนคลายและเสริมสรางสุขภาพที่ดี ใหกับผูบริโภคโดยเนนวิธีการแบบธรรมชาติบําบัด ดวยสินคาและบริการหลักๆ ดังนี้ - บริการนวด - แบบแผนไทย และแบบอะโรมาเธอราพี - นวดหนาและฝาเทา
  • 6. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 6 - นวดบําบัด - บริการเสริมความงาม - อบผิว - ขัดผิว - สิ่งอํานวยความสะดวกและผอนคลาย - อางน้ําจากุซซี่ และอางน้ําเย็น - หองอบซาวนา และหองอบไอน้ํา - การใหคําแนะนําในการดูแลรักษาสุขภาพ - ผลิตภัณฑทางธรรมชาติ - น้ํามันหอมกลิ่นตางๆ - สมุนไพรประคบ 3. เปาหมายการดําเนินงาน - สรางยอดขายประมาณ 13 ลานบาท ภายในป 2547 - มีผลกําไรสุทธิประมาณรอยละ 22 ในป 2547
  • 7. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 7 บทที่ 3 การวิเคราะหสถานการณทางการตลาด การวิเคราะหสภาพแวดลอมมหภาค • ดานเศรษฐกิจและนโยบายรัฐบาล สภาพเศรษฐกิจที่เริ่มปรับตัวดีขึ้น ทําใหผูบริโภคมีการใชจายเงินมากขึ้น และตลาดสปา ก็มี แนวโนมที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นดวย นอกจากนั้นตลาดขางเคียงอยางผลิตภัณฑจากธรรมชาติโดยเฉพาะตลาด สมุนไพรก็มีอัตราการขยายตัวสูงถึงรอยละ 30 ตอปซึ่งมาจากภาครัฐมีนโยบายสนับสนุนการพัฒนาการผลิต และสงเสริมการใชผลิตภัณฑจากธรรมชาติ ทําใหตลาดผลิตภัณฑและการบริการเรื่องสุขภาพ ซึ่งรวมถึง สปา กลายเปนตลาดที่มีศักยภาพในการเติบโตมากขึ้น • ดานสังคมและวัฒนธรรม สภาพทางสังคมและวัฒนธรรมในประเทศ เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่เอื้ออํานวยตอ การเติบโตของตลาดสปา เนื่องจากกระแสนิยมสินคาที่มาจากธรรมชาติและบริการความผอนคลายใน รูปแบบธรรมชาติ มีการดูแลรักษาสุขภาพมากขึ้นทําใหผูบริโภคเริ่มมาใชบริการสปามากขึ้น โดยสวนหนึ่งมี ความเชื่อที่วาสามารถชวยผอนคลายความเครียด และเสริมสุขภาพกายและจิตใจ เปนสถานที่สงบเหมาะ สําหรับการผอนคลาย อีกทั้งยังเปนการหลีกเลี่ยงอันตรายจากสิ่งปนเปอนทางเคมี เนื่องจากใชผลิตภัณฑจาก ธรรมชาติโดยเฉพาะการใชสมุนไพร
  • 8. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 8 โครงสรางตลาดและสภาพอุตสาหกรรม • โครงสรางตลาด เมื่อวิเคราะหขอมูลทางการตลาดสปาในปจจุบันจะพบวามีลักษณะของการกระจายตัว กลาวคือ ในแตละพื้นที่ จะมีสปาแบบสแตนอโลน เปดใหบริการเพียงไมกี่รายเทานั้น ไมวาจะในกรุงเทพมหานคร หรือจังหวัดใหญๆ ที่เปนแหลงทองเที่ยวก็ตาม เชน ยานถนนบางนา-ตราด มีเพียงหนึ่งแหง ยานถนนสาธร มีประมาณ 1 - 2 แหง เพราะสวนใหญแลวสปาจะเปดใหบริการอยูในโรงแรมระดับ 4 - 5 ดาว หรือรีสอรท ทั่วไปในทุกที่ • สภาพอุตสาหกรรม การใชธรรมชาติบําบัดเพื่อปรับสมดุลในรางกาย เปนวิธีหนึ่งที่คนสวนใหญเลือกใชเมื่อตองการ ผอนคลายแทนการพึ่งยารักษาโรค จากความหวงใยสุขภาพนี้เอง ทําใหธุรกิจและบริการที่เกี่ยวของกับ สุขภาพไดรับความสนใจมากขึ้น ธุรกิจและบริการดานสุขภาพถูกปลุกใหตื่นขึ้น เพราะเมืองไทยมีความโดดเดน ทั้งเรื่องสมุนไพรและการแพทยแผนไทย โดยเฉพาะสปาซึ่งเปนธุรกิจที่กําลังมาแรงและไดรับความสนใจจาก ผูประกอบการและนักลงทุนเปนอยางมาก ในชวงเวลา 2 ปที่ผานมา มีจํานวนสปาเปดใหบริการเพิ่มขึ้นมากมาย ทั้งในรูปแบบที่เปนสปา แบบใหบริการครบวงจร โดยมีการออกแบบสถานที่ใหดูหรูหรา และใหความรูสึกผอนคลายเมื่อเขาใช บริการ และหองแถวที่เปดใหมีบริการนวดและเสริมความงามในแบบตางๆ
  • 9. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 9 1. การเขามาของคูแขงรายใหม จากเดิมที่สปาจะมีใหบริการแตในโรงแรมใหญและรีสอรทตางๆ แตเนื่องจากธุรกิจสปา กําลังไดรับความนิยมอยางสูงจากผูบริโภค จึงทําใหมีนักลงทุนและผูประกอบการเริ่มตื่นตัวเปดกิจการดาน สปาเพิ่มมากขึ้น โดยมีการเปดสปาตามโรงแรมตั้งแตระดับสี่ดาวขึ้นไป และเปดสปาแบบสแตนอโลนมา กขึ้น ทําใหการแขงขันมีความรุนแรงมากขึ้นตามไปดวย แตการเขามาใหมในธุรกิจแบบสปานี้ทําไดไมงาย นัก เนื่องจากรูปแบบการดําเนินธุรกิจของสปาในเมืองไทย ตองอาศัยทําเลที่เดินทางสะดวก การที่จะหา ทําเลที่ตั้งที่ดีได ตองใชเงินลงทุนสูง นอกจากนั้นรูปแบบการใหบริการและการออกแบบตกแตงรานก็เปน ปจจัยที่สําคัญอีกประการหนึ่งซึ่งจะวาไปแลวก็ตองใชเงินทุนสูงพอสมควร สิ่งสําคัญมากอีกอยางคือเรื่อง ของบุคลากรโดยเฉพาะพนักงานนวดที่ตองมีความสามารถและความชํานาญในการนวดแบบตางๆ ซึ่ง ผูที่ เขามาใหมในธุรกิจสปาจําเปนตองลงทุน และมีแหลงที่จะจัดหาทรัพยากรบุคคลเหลานี้เขามาปฏิบัติงาน ซึ่ง ไมใชเรื่องงายในปจจุบันที่จะหาพนักงานที่มีประสิทธิภาพในปริมาณมากๆ 2. สินคาทดแทน ในมุมมองที่สปาเปนสถานที่สําหรับคนที่มีความตองการความผอนคลายความตึงเครียดจากการ ทํางานหนัก สินคาทดแทนของธุรกิจสปาที่ชวยผอนคลายความเครียดหรือเสริมสรางสุขภาพมีอยูมากมาย ทั่วไป อยางเชน ศูนยออกกําลังกายตามอาคารสํานักงานและโรงแรมตางๆ สถานที่ใหบริการนวดแผน โบราณตามโรงพยาบาล อาคารพาณิชย หองแถวและตามหางสรรพสินคา การเตนแอโรบิค ใน สวนสาธารณะหรือบริเวณลานหนาหางสรรพสินคา การวิ่งและการฝกโยคะซึ่งกําลังเปนที่นิยม หรือกระทั่ง การดูภาพยนตรก็สามารถชวยใหผอนคลายได ซึ่งผูบริโภคมีทางเลือกมากมายในการเลือกใชบริการ โดย กิจกรรมบางอยาง สามารถทําไดโดยไมเสียคาใชจายหรือมีคาใชจายที่ถูกมากๆ นอกจากนั้นสถานที่เหลานี้ หาไดงายกวาสปา แตในมุมมองที่สปาเปนสถานที่สําหรับคนที่มีความตองการความผอนคลายดวยการนวด สินคา ทดแทนของธุรกิจสปาจัดวามีคอนขางนอย ซึ่งไดแกสถานที่ใหบริการนวดแผนโบราณตามโรงพยาบาล
  • 10. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 10 อาคารพาณิชย หองแถว และตามหางสรรพสินคา ซึ่งเปนสถานที่สะดวกและหาไดงาย แตเปนกลุมลูกคาคน ละแบบ นั่นคือเปนกลุมที่ไมเนนบรรยากาศที่ผอนคลาย สภาพแวดลอมที่สวยงาม แตเปนกลุมที่ตองการ ความสะดวกรวดเร็ว และประหยัดคาใชจาย 3. อํานาจการตอรองของลูกคา (ผูใชบริการ) ลูกคาหรือผูมาใชบริการที่สปา จะมีอํานาจการตอรองนอย เนื่องจากวาสถานบริการสปา แตละ แหงในบริเวณตางๆจะเปดใหบริการไมแพรหลาย คืออาจจะมีเพียงแหงเดียว หรือสองแหงเทานั้น นอกจากนั้น ความสามารถในการใหบริการของสปากับลูกคายังมีขอจํากัดอีกดวย เพราะในแตละชวงเวลาของแตละวัน นั้น สปาทั่วไปสามารถรองรับใหบริการลูกคาไดในจํานวนที่จํากัดโดยเฉพาะในชวงบายสามโมงถึงสองทุมเปน ตน ซึ่งเวลาดังกลาวเปนชวงเวลาที่ลูกคาเขามาใชบริการเปนจํานวนมาก ดังนั้นลูกคาสวนใหญจึงตอง โทรศัพทมาจองขอใชบริการลวงหนา สวนลูกคาที่ไมไดจองเวลาลวงหนาสวนใหญมักจะนั่งรอหรือไมก็ กลับมาใชบริการในวันหลัง เหตุผลเพราะวาสปาที่เปดใหบริการในแตละบริเวณมีจํานวนจํากัดมากดังที่กลาว มาแลวขางตน ดังนั้นทําใหการเปลี่ยนสถานที่บริการจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งจะตองมีคาใชจายคอนขางสูง ทั้งคาน้ํามันและตองเสียเวลาในการเดินทาง นอกจากนั้นผูบริโภคยังไมรูวาบริการหรือสินคาของสปาอีกแหง หนึ่งจะเปนอยางไร จากเหตุผลที่จํานวนสปาที่เปดใหบริการนั้น ยังมีจํานวนไมมาก ทําใหการตั้งราคาหรือการขึ้น ราคาที่เหมาะสมสามารถทําไดงายและผูบริโภคก็ยินดีที่จะจาย เหตุผลหนึ่งคือวาถาลูกคาที่เขามาใชบริการ นวดแลวเกิดความพึงพอใจกับการนวดนั้นๆ จะสงผลใหลูกคาเกิดความภักดี ทําใหการกําหนดเรื่องราคา ไมสงผลกระทบมากนัก
  • 11. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 11 4. อํานาจการตอรองของผูขาย อํานาจการตอรองของผูขายแยกเปนสามสวนดังนี้ 1. ผูใหบริการออกแบบและกอสรางสถานที่ อํานาจการตอรองของผูใหบริการออกแบบและกอสรางสถานที่มีนอย เนื่องจากวาใน ปจจุบันมีสถาปนิกที่รับออกแบบและผูรับเหมากอสรางอยูจํานวนมาก ทําใหเจาของกิจการมีทางเลือกมาก ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยทําใหเกิดความตองการที่จะไดงาน ทําใหมีการเสนองานแขงกันซึ่ง เจาของกิจการจะไดเปรียบจากตรงนี้โดยจะไดราคาที่ต่ําลง 2. ผูขายผลิตภัณฑที่ใชในการทําธุรกิจสปา อํานาจการตอรองของผูขายผลิตภัณฑที่ใชในการใหบริการในสปามีคอนขางสูง เชน เครื่องอบตัว ระบบอางจากุซซี่ หองซาวนา และหองอบไอน้ํา เนื่องจากสินคาเหลานี้สวนใหญเปนสินคา เฉพาะกลุม และตองนําเขาจากตางประเทศโดยที่มีตัวแทนจําหนายในประเทศเพียงไมกี่รายที่นําเขามา ทําให ทางเลือกของเจาของกิจการมีนอย 3. ผูขายผลิตภัณฑที่ใชในขั้นตอนการนวดและเสริมความงาม
  • 12. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 12 อํานาจการตอรองของผูขายผลิตภัณฑที่ใชในขั้นตอนการนวดและเสริมความงามมีนอย เพราะสินคาสวนใหญหลายชนิดสามารถหาซื้อไดภายในประเทศ เชน น้ํามันหอม และสมุนไพร ถึงแมวา จะตองสั่งซื้อสินคาบางรายการที่ตองนําเขาจากตางประเทศ ทางบริษัทฯหรือสปาทั่วๆไปก็สามารถหาซื้อได จากตัวแทนจําหนายหลายรายไดในราคาที่ถูก ผูขายบางรายยินดีที่จะใชกลยุทธฝากขายสินคาอีกดวย และ เนื่องจากสินคาเหลานี้เปนสินคาที่ใชเฉพาะกลุม เปนสินคาที่ไมไดใชหรือสามารถวางขายไดตามตลาดทั่วไป จึงทําใหผูขายหลายรายจําเปนตองอาศัยและใชชองทางทางดานสปาเปนชองทางหนึ่งในการขายสินคาและ สรางตราสินคาของตนเองใหเปนที่รูจัก จากเหตุผลดังกลาวทําใหผูขายมีอํานาจการตอรองที่นอยกวา 5. การแขงขัน การแขงขันในตลาดสปาเปนการแขงขันที่สูง เนื่องจากธุรกิจสปา กําลังไดรับความนิยมอยางสูง จากผูบริโภค โดยเฉพาะคนไทยทั้งผูหญิงและชายที่เริ่มมีการตื่นตัวและใหความสนใจ ในการดูแลรักษา สุขภาพมากขึ้น จึงทําใหนักลงทุนเล็งเห็นโอกาสทางธุรกิจและไดทําการเปดกิจการเพิ่มมากขึ้นทั้งในกรุงเทพ และตางจังหวัด โดยสปาในกรุงเทพนั้นจะเนนตั้งแตภาพลักษณความหรูหราของสถานที่และรวมถึงบริการที่ มีความหลากหลายสิ่งอํานวยความสะดวกที่ครบครัน ในขณะที่ สปาตามตางจังหวัดนั้นจะไมเนนถึงความ สวยงามในการออกแบบรานความหรูหรามากนัก แตจะเนนการใหบริการที่จัดเตรียมใหลูกคาเทานั้น จากสภาพตลาดที่มีศักยภาพและโอกาสในการทํากําไร สปาโดยทั่วๆไปจึงใชกลยุทธทาง การตลาดโดยเฉพาะกลยุทธดานราคา และกิจกรรมสงเสริมการขายตางๆเปนกลยุทธในการทําตลาดและ แขงขันกับคูแขงขัน อยางเชน การลดราคาพิเศษตอการใชบริการตอครั้ง การซื้อโปรแกรมนวดแบบเปน แพ็คเกจ เพื่อดึงใหลูกคาเขามาบริการอยางตอเนื่อง และการจําหนายคูปองเพื่อใชเปนสวนลดในครั้งตอๆไป เพื่อสรางชื่อเสียงใหเปนที่รูจักและสรางขอไดเปรียบในการแขงขัน ดังนั้นเจาของสปา รายใหญๆจะใชงบประมาณในการนําเสนอสถานที่ และบริการของตนเองโดยการใชสื่อโฆษณาตางๆ โดยเฉพาะสื่อสิ่งพิมพที่ดูจะตรงกับกลุมลูกคาเปาหมายที่สุดและเปนที่นิยมมากที่สุดในปจจุบัน เชนนิตยสาร ที่เกี่ยวกับความงาม และเกี่ยวกับสุขภาพ ซึ่งจะชวยสรางตราสินคาใหเปนที่รูจักไดเร็วยิ่งขึ้นพรอมนําเสนอ กิจกรรมสงเสริมการขายตางๆไปไดพรอมๆกัน
  • 13. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 13 จากผลการวิเคราะหอุตสาหกรรมสปาขางตน สามารถสรุปไดวา การลงทุนทําธุรกิจสปานั้น คอนขางยาก การดําเนินธุรกิจสปาใหประสบความสําเร็จไดนั้นก็ตองอาศัยปจจัยหลายอยาง โดยเฉพาะ ทําเล สถานที่ตั้งสินคาและการใหบริการ การพัฒนารูปแบบการใหบริการ ใหมีความสอดคลองกับพฤติกรรม ผูบริโภค และที่สําคัญคือจะตองมีจุดเดนเปนของตัวเองเพื่อสรางใหเปนจุดขายและเปนขอไดเปรียบในการ แขงขัน ซึ่งจะชวยเสริมสรางความแข็งแกรงใหกับตราสินคาในระยะยาว นอกจากนั้น ผูประกอบการในธุรกิจสปา ตองเนนและเสริมการเพิ่มคุณคาใหมๆ ใหแกผูที่มาใช บริการ ซึ่งนับวันจะมีการเปลี่ยนพฤติกรรมบอยและมีความตองการในสิ่งตางๆ เพิ่มมากขึ้น บทที่ 4 การวิเคราะหคูแขง สภาพการแขงขันของธุรกิจสปานั้น จัดวาอยูในเกณฑสูง ทั้งจากการแขงขันจากธุรกิจแบบ เดียวกันและการแขงขันจากสินคาทดแทน ดังเห็นไดจากมีการเปดกิจการเพิ่มมากขึ้นทั้งในรูปแบบการ ใหบริการนวดตามหางสรรพสินคา และหองแถวตางๆ ซึ่งใหบริการเชน การนวดเฉพาะจุด เชน นวดฝาเทา จนไปถึง สปาที่ใหบริการแบบครบวงจรทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด นอกเหนือจากการเลือกทําเลที่ตั้ง ซึ่งถือวาเปนจุดยุทธศาสตรในการดําเนินธุรกิจสปาแลว การใชกลยุทธดานราคาและกิจกรรมสงเสริมการขาย ก็เปน กลยุทธหลักๆ ที่ผูประกอบการเกือบทุกคนนํามาใชในการแขงขัน ประเภทของสปา 1. Resort Spa และ Hotel Spa เปนลักษณะของรีสอรทและโรงแรมที่มีการใหบริการสปา สําหรับแขกที่เขาพัก สามารถพบ เห็นไดทั่วไปตามแหลงทองเที่ยวที่มีชื่อเสียง อาทิเชน หัวหิน และภูเก็ต 2. Day Spa
  • 14. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 14 เปนรูปแบบสปาที่พบไดทั่วไปในกรุงเทพฯ อาจใชเวลาเพียง 2 ชั่วโมงสําหรับการเขาใชบริการ หนึ่งอยาง หรือมากที่สุด 1 วัน สําหรับการเขารับบริการแบบครบวงจรทั้งการนวดและดูแลสุขภาพผิว 3. Destination Spa สถานประกอบการที่ใหบริการแบบเต็มรูปแบบโดยจะใหการบริการดูแลตั้งแตเรื่องอาหารการ กิน การอยูการนอน การออกกําลังกาย และการใหบริการดานสปา กอนการเขาใชบริการตองมีการสอบถาม และพูดคุยเพื่อทําความเขาใจลักษณะการใชชีวิตของผูจะเขารับการบริการ เ พื่อที่จะไดสามารถจัดเตรียม รูปแบบ หรือคอรสการบําบัดที่เปนประโยชนและเหมาะสมกับผูจะเขารับบริการมากที่สุด 4. Medical Spa เปนรูปแบบที่เนนการทําสปาเพื่อบําบัดและรักษาโรค ซึ่งตองอาศัยผูเชี่ยวชาญเฉพาะทาง อาจ เปนการบําบัดโดยทางธรรมชาติเพียงอยางเดียว หรือควบคูไปกับการใชยาแผนปจจุบัน ประเภทของรูปแบบการใหบริการในสปา โดยทั่วไปรอยละ 70 ของการใหบริการในสปา คือ การนวด ซึ่งรูปแบบการนวด ที่ไดรับความ นิยมมีทั้งหมด 8 ประเภท 1. การนวดแบบแผนไทย (Thai Massage) เปนการนวดแบบผสมผสานระหวางการนวดแบบเนนกดจุด ที่เนนการคลึงไปตามรางกายกับ การนวดแบบยืดเสนยืดสาย แบบกายบริหาร 2. การนวดแบบจีน (Shiatsu) เปนการกระตุนและบําบัดพลังงาน หรือ “ชี่” ที่ไหลเวียนภายในรางกายใหสมดุลคลายกับการ นวดแบบไทยแตความหนักหนวงนอยกวา
  • 15. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 15 3. การนวดแบบญี่ปุน (Reiki) เปนการนวดที่มีพื้นฐานของความเชื่อที่วา เปนการกระตุนประกอบกับการฟนฟูพลังงาน และ ผอนคลาย การนวดแบบนี้เนนการกดจุดโดยจะทําการนวดลงบนจุดสําคัญ 16 จุดบนรางกายเทานั้น ไมมีการ สัมผัสรางกายสวนอื่น 4. การนวดแบบอินเดีย (India Massage) เปนการกระตุนกลามเนื้อสวนบนของรางกายบริเวณหัวไหล และตนคอควบคูไปกับการนวด ดวยน้ํามันหอมระเหย เพื่อใหพลังงานไดไหลเวียนทั่วรางกาย 5. การนวดแบบขจัดพิษ (Lymphatic Drainage) เปนการนวดเพื่อชวยลดอาการบวมน้ํา และกําจัดไขมันสวนเกินที่เรียกวา เซลลลูไลท ชวย กระตุนการไหลเวียนของโลหิตและกระชับผิว ลักษณะการนวดจะเปนการเคาะและกดตามผิวหนังสวนที่ไม เรียบเปนลักษณะผิวเปลือกสม 6. การนวดแบบอะโรมาเธอราพี (Aromatherapy) เปนการนวดที่นิยมกันมาก เปนการนวดแบบผสมผสานระหวางวิธีการนวดแบบโบราณ ซึ่ง เปนการผอนคลายความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยลา ควบคูกับการใชกลิ่นบําบัด 7. การนวดฝาเทา (Reflexology) เปนการนวดที่ชวยกระตุนระบบการทํางานของรางกายโดยรวมใหดีขึ้น เนื่องจากฝาเทาเปนจุด ศูนยรวมของเสนตางๆ ในรางกาย 8. การนวดแบบอัคนีบําบัด (Lastone Therapy) เปนการใชหินรอน-เย็น วางตามจุดสําคัญของรางกายสลับกัน อุณหภูมิที่ตางกันของหินจะชวย กระตุนการไหลเวียนของโลหิต ซึ่งจะสงผลใหเซลลในรางกายไดรับออกซิเจนอยางเต็มที่
  • 16. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 16 จากอัตราและแนวโนมการเจริญเติบโตของธุรกิจสปาที่กําลังเพิ่มสูงขึ้น ทําใหนักลงทุนใหความ สนใจและเปดสปาเพิ่มมากขึ้นไมวาจะอยูในโรงแรมหรือรีสอรทตางๆแลว ยังมีการเปดกิจการแบบ สแตนอโลนเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะสปาที่จัดอยูในประเภทของ Day Spa และ Destination Spa คูแขงทางตรง ผลการสํารวจคูแขงในยานบริเวณถนนบางนา-ตราด และเขตใกลเคียงกัน พบวามีคูแขงที่เปน คูแขงหลักเพียงหนึ่งแหงเทานั้นคือ Health Land Spa ซึ่งตั้งอยูในระหวางในซอยอุดมสุข 60 และถนน ศรีนครินทร Health Land Spa จัดเปนสปาประเภท Medical Spa ที่เปดใหบริการมาแลวมากกวา 2 ป และเปน ที่รูจักเปนอยางดีของผูบริโภคบริเวณนั้น สําหรับจุดแข็งและจุดออนของ Health Land Spa สาขาถนนศรีนครินทร สามารถวิเคราะหได ดังนี้ จุดแข็ง 1. มีชื่อเสียงเปนที่รูจักแพรหลาย (ปจจุบันมี 2 สาขา ที่ถนนสาธร) 2. การเดินทางสะดวก สามารถเขาไดจากทางดานถนนศรีนครินทร และทางถนนสุขุมวิท 3. มีแพทยอายุรเวช คอยใหคําปรึกษากับลูกคาที่มาใชบริการ 4. มีบริการขายอาหารและเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพที่หลากหลาย 5. มีแหลงเงินทุนสูง 6. ผูบริหารงานและทีมงานมีประสบการณและความชํานาญในธุรกิจ จุดออน 1. กลุมลูกคาใหมจะสังเกตหรือหาสถานที่ตั้งไดยากเนื่องจากรานตั้งอยูในซอยไมมีปายบอก
  • 17. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 17 2. ขาดความหลากหลายในการนวด เชน ไมมีบริการนวดหนา 3. ขาดความหลากหลายของวิธีการนวด เชน ไมมีบริการนวดหนา นวดแบบจีน และญี่ปุน 4. ไมมีใหบริการอางจากุซซี่ อางน้ําเย็น หองอบซาวนา และหองอบไอน้ําสําหรับผูบริโภคที่ใชบริการ นวดแบบทั่วไป 5. ลูกคาไมไดรับการบอกวาสามารถเลือกน้ํามันหอมกลิ่นตางๆได เมื่อเลือกบริการนวดแบบ อะโรมาเธอราพี คูแขงทางออม 1. สถานเสริมความงามหรือรานเสริมสวยที่มีบริการนวด 2. สปอรทคลับ หรือศูนยออกกําลังกาย 3. การฝกเตนโยคะ 4. การวิ่งหรือเตนแอโรบิคในสวนสุขภาพ หรือสวนสาธารณะ 5. การใหบริการนวดฝาเทาในหางสรรพสินคา
  • 18. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 18 บทที่ 5 ปจจัยสําคัญสูความสําเร็จ ในสภาพตลาดที่มีการแขงขันที่รุนแรง การดําเนินธุรกิจสปาเพื่อใหประสบความสําเร็จไดตาม เปาหมายนั้นตองมีกลยุทธทางการตลาดที่ดีและอาศัยปจจัยที่สําคัญคือ 1. มีทําเลที่ตั้งของสถานที่ที่เดินทางไปมาไดสะดวก และสามารถสังเกตเห็นไดงาย 2. มีสินคาและบริการที่สามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภคไดดี เชน ใหบริการ คําแนะนําดูแลสุขภาพที่ถูกตองใหกับผูมาใชบริการ เพื่อสรางความประทับใจและสรางลูกคาใหเกิดความ จงรักภักดี 3. มีจุดเดนที่เปนขอไดเปรียบในการแขงขัน 4. มีความพรอมดานบุคลากร 5. กิจกรรมทางการตลาดที่ตองตรงกับกลุมลูกคาเปาหมายหลัก 6. มีการปรับปรุงสถานที่หรือพัฒนาสินคาและบริการใหทันตอพฤติกรรมของผูบริโภคที่อาจ เปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา สําหรับสินคาและบริการที่เปนหนึ่งในปจจัยที่มีผลตอความสําเร็จในการทําธุรกิจดานสปา มี รายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้
  • 19. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 19 หมวดสินคา 1. น้ํามันหอม 2. โคลนหมักและพอกตัว 3. โลชั่นบํารุงผิว 4. สมุนไพรบํารุงรางกาย หมวดบริการ 1. การนวด 4 แบบ ไดแก 1.1 นวดแบบไทย 1.2 นวดแบบอะโรมาเธอราพี 1.3 นวดหนา 1.4 นวดฝาเทา 1.5 นวดบําบัด
  • 20. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 20 2. การใหบริการเสริมความงาม 2.1 การขัดและอบผิวสมุนไพร 2.2 การทําทรีตเมนต - Full Body Treatment เปนวิธีที่มีการใชผลิตภัณฑเพื่อดูแลรางกายใหดีขึ้น ไมใชการบําบัดรักษาปญหาใดๆ ทั้งสิ้น แต เปนเนนเสริมสรางรางกายใหแข็งแรง - Spot Treatment เปนการทําทรีตเมนตเฉพาะสวนของรางกาย เชน บริเวณหลัง หนาอก แขน และรวมถึงการทํา ทรีตเมนตพิเศษเชน เซลลูไลท เปนตน 3. พนักงานนวด (Therapist) ใหบริการในรูปแบบการนวดตางๆที่ผานการอบรมและทดสอบความสามารถในการนวด 3.1 พนักงานนวดแบบแผนไทย 3.2 พนักงานนวดแบบอะโรมาเธอราพี 3.3 พนักงานนวดแบบบําบัด
  • 21. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 21 4. สิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการผอนคลาย 4.1 แยกสวนของผูชายและผูหญิง 4.2 หองนวดแบบรวม 4.3 หองนวดแยกสวนตัวแบบทั่วไปและแบบวีไอพี 4.4 หองทําทรีตเมนท 4.5 หองอบไอน้ําแบบรวม 4.6 หองอบซาวนาแบบรวม 4.7 อางจากุซซี่ และอางน้ําเย็น 4.8 หองอาบน้ํา และล็อคเกอรสวนตัว 4.9 หองรับแขก สําหรับพักผอนระหวางรอรับการใหบริการ 4.10 บริการเครื่องดื่ม 5. การใหคําแนะนํา 5.1 มีการจัดเตรียมเอกสารสําหรับการดูแลและรักษาสุขภาพที่ถูกตอง 5.2 คูมือเกี่ยวกับวัตถุประสงคและประโยชนของการเขารับบริการในสปา และการนวดในแบบตางๆ เพื่อสรางใหลูกคาเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น
  • 22. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 22 บทที่ 6 การวิจัยตลาด วงจรชีวิตธุรกิจสปา จากการวิเคราะหสภาพตลาดและวงจรชีวิตธุรกิจพบวา ธุรกิจสปาจัดอยูในชวงที่มีอัตราการ เติบโตสูง เนื่องจากแนวโนมของผูบริโภคจํานวนมากมีความตื่นตัว และระวังดูแลรักษาสุขภาพเพิ่มมากขึ้น มีสถานประกอบการเปดใหบริการเพิ่มขึ้นมากมายทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด ประกอบกับธุรกิจ ขางเคียงอยางเชน ศูนยออกกําลังกาย (Fitness Center) ก็มีการขยายตัวเพิ่มขึ้นตามไปดวย ดังนั้นผูประกอบการธุรกิจดานสปา จะสามารถแขงขันในตลาดไดนั้นจําเปนตองหาจุดแข็งของ ตัวเองใหไดและพัฒนาจุดแข็งนั้นใหเปนขอไดเปรียบเหนือคูแขง เนนสรางความแตกตางหรือปรับปรุงการ ใหบริการที่ดีอยูตลอดเวลา นอกจากนั้นตองทําการวิจัยและศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคเปนระยะๆ เพื่อ เตรียมตัวหรือปรับตัวใหเขากับความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นไดตลอดเวลา ตองมีการทําการวิเคราะห คูแขงขัน เพื่อหากลยุทธทางการตลาดที่เหมาะสมและแขงขันได เชน ราคา สินคาหรือบริการใหมๆ เพื่อสราง ความแข็งแกรงและอยูรอดในสภาพของตลาดที่นับวันจะมีความรุนแรงมากขึ้น การวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค ผลการวิจัยตลาดโดยการใหกลุมลูกคาเปาหมายทําแบบสอบถามจํานวน 140 คน เพื่อสอบถาม ความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยที่เปนเหตุผลจูงใจตอการตัดสินใจในการเขารับบริการในศูนยสงเสริมสุขภาพ (สปา) ซึ่งสามารถสรุปผลได ดังนี้
  • 23. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 23 1. ปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจในการเลือกใชบริการ - รอยละ 34 ของผูบริโภคเลือกสถานที่ตั้งและการออกแบบตกแตงรานเปนปจจัยที่มีผลตอการ ตัดสินใจเขารับบริการ - รอยละ 28 ของผูบริโภคเลือกรูปแบบของการใหบริการเปนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเขารับ บริการ - รอยละ 20 ของผูบริโภคเลือกชื่อเสียงและบุคลากรเปนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเขารับบริการ - รอยละ 18 ของผูบริโภคเลือกราคาและกิจกรรมสงเสริมการขายเปนปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจเขา รับบริการ จากขอมูลตามแผนภูมิขางตนสรุปไดวา ทําเลสถานที่ตั้งและการออกแบบราน เปนปจจัยที่สําคัญ ที่สุดที่ผูบริโภคใชในการตัดสินใจเลือกใชบริการ อยางไรก็ตามรูปแบบของการใหบริการก็มีความสําคัญตอ การตัดสินใจเหมือนกัน ดังนั้นกลยุทธทางการตลาดหลักๆที่เปนกลยุทธที่สําคัญ และตองเนนใหความสําคัญ เพื่อสรางขอไดเปรียบในการแขงขันคือ กลยุทธดานการกระจายสินคา (ในกรณีนี้คือ การหาทําเลที่ตั้งที่ เหมาะสม การเดินทางไปมาสะดวกและมีความปลอดภัย) และกลยุทธดานสินคาและบริการ 2. ปจจัยยอยของแตละปจจัยหลักที่มีผลตอการตัดสินใจในการเลือกใชบริการ 2.1 ปจจัยทางดานสถานที่ตั้งและการออกแบบราน - ผูบริโภคใหความสําคัญกับความสะดวกในการเดินทางมากเปนอันดับแรกทั้งหมด 108 คน - ผูบริโภคใหความสําคัญกับสภาพแวดลอมของสถานที่ตั้งเปนอันดับสองทั้งหมด 104 คน - ผูบริโภคใหความสําคัญกับสิ่งอํานวยความสะดวกเปนอันดับสามทั้งหมด 80 คน - ผูบริโภคใหความสําคัญกับแนวคิดและการจัดสถานที่เปนอันดับสี่ทั้งหมด 72 คน จากขอมูลในแผนภูมิขางตน สรุปไดวา ผูบริโภคใหความสําคัญมากเกี่ยวกับทําเลที่ตั้งของราน
  • 24. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 24 ซึ่งจะตองมีความสะดวกในการเดินทางไปมา ผูบริโภคสามารถเขาถึงไดงาย นอกจากนั้นสภาพแวดลอมและ ความปลอดภัยของทําเลที่ตั้งก็เปนสิ่งที่สําคัญอีกประการที่ผูประกอบการตองคํานึงถึง ในสวนของสิ่งอํานวย ความสะดวกและแนวความคิดในการจัดสถานที่ถือเปนเรื่องที่สําคัญรองๆ ลงมา 2.2 ปจจัยทางมาตรฐานการยอมรับและบุคลากร - ผูบริโภคใหความสําคัญกับความชํานาญหรือผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเปนอันดับแรกทั้งหมด 124 คน - ผูบริโภคใหความสําคัญกับการบริการและใหคําแนะนําเปนอันดับสองทั้งหมด 108 คน - ผูบริโภคใหความสําคัญกับการแตงกายและบุคคลิกของพนักงานเปนอันดับสามทั้งหมด 72 คน - ผูบริโภคใหความสําคัญกับชื่อเสียงของสถานประกอบการเปนอันดับสี่ทั้งหมด 44 คน จากขอมูลแผนภูมิขางตนสรุปไดวาความชํานาญของพนักงาน และการใหคําแนะนําในเรื่อง ตางๆ กับผูบริโภคนั้นเปนสิ่งที่สําคัญมาก เนื่องจากวาผูที่มาใชบริการในสปา เพื่อตองการความผอนคลายทั้ง รางกายและจิตใจ นั้นสวนมากนั้นยังไมคอยมีความรูและเขาใจถึงขอดีหรือประโยชนของการใชบริการใน สปา หรือกระทั่งวิธีการนวดในแบบตางๆ ที่แทจริง ในสวนของบุคลิกการแตงกายของพนักงาน และเรื่อง ชื่อเสียงของพนักงานนั้นก็มีความสําคัญรองลงมา ซึ่งสิ่งเหลานี้ถึงแมไมไดเปนสิ่งที่ผูบริโภคใหความสําคัญ สูงสุด แตเปนสิ่งที่ชวยเสริมสรางภาพพจนที่ดีและความนาเชื่อถือของบริษัทฯ ไดอีกทางหนึ่ง 2.3 ปจจัยทางดานรูปแบบของการใหบริการ - ผูบริโภคใหความสําคัญกับความปลอดภัยและความนาเชื่อถือเปนอันดับแรกทั้งหมด 116 คน - ผูบริโภคใหความสําคัญกับความทันสมัยของเครื่องมือและอุปกรณเปนอันดับสองทั้งหมด 92 คน - ผูบริโภคใหความสําคัญกับความหลากหลายของรูปแบบการบริการเปนอันดับสามทั้งหมด 80 คน
  • 25. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 25 จากขอมูลแผนภูมิขางตนสรุปไดวา ผูเขามาใชบริการในสปาใหความสําคัญกับความปลอดภัยและ ความนาเชื่อถือในการเขารับบริการ เนื่องจากวาบริการหลักๆ ในสปาคือการใหบริการนวด ซึ่งการนวดในแต ละแบบนั้นจะตองมีการนวดหรือสัมผัสเสนตางๆ ของรางกาย ดังนั้นพนักงานนวดตองอธิบายหรือใหความ มั่นใจกับลูกคา และอุปกรณตางๆ ที่ใชตองสะอาดถูกสุขลักษณะและปลอดภัย สวนของความทันสมัยของ เครื่องมือและอุปกรณถึงจะมีเปนสิ่งที่สําคัญรองลงมา แตสิ่งเหลานั้นเปนตัวที่จะชวยเสริมใหการบริการมี ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ประหยัดเวลาและขั้นตอนในการทํางาน และอาจจะเปนจุดที่เปนขอไดเปรียบใน การแขงขันอีกดวย สําหรับความหลากหลายของรูปแบบการใหบริการนั้น ทางบริษัทฯ เล็งเห็นวาความ หลากหลายของบริการจะเปนการเสริมสรางภาพพจนที่ดีที่สามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภค นอกจากนั้นยังสะทอนภาพของความเปนมืออาชีพอีกดวย 2.4 ปจจัยทางดานราคาและรายการสงเสริมการขาย - ผูบริโภคใหความสําคัญกับการใหสวนลดพิเศษในรูปแบบตางๆเปนอันดับแรกทั้งหมด 96 คน - ผูบริโภคใหความสําคัญกับการใหความรูทางดานสุขภาพและอนามัยเปนอันดับสองทั้งหมด 80 คน - ผูบริโภคใหความสําคัญกับการจัดใหมีกิจกรรมรวมกับบัตรเครดิต ทัวร และโรงแรมเปนอันดับ สามทั้งหมด 36 คน จากขอมูลแผนภูมิขางตนสรุปไดวา ผูบริโภคมีโอกาสที่จะถูกกระตุนใหเกิดการทดลองใชบริการ ในสปาไดงาย จากสวนลดพิเศษที่ทางรานนําเสนอให สวนการใหความรูทางดานสุขภาพและอนามัยกับ ผูบริโภคก็เปนบริการเสริมที่สําคัญที่ชวยใหผูบริโภคมีความรูและความเขาใจ กระตุนใหมีการตื่นตัวและเริ่ม หันมาใสใจสุขภาพมากขึ้น ถึงแมวาจะมีความสําคัญนอยกวาสวนลดราคาพิเศษ ในสวนของกิจกรรมที่เขา รวมกับบริษัทผูออกบัตรเครดิต ทัวร หรือโรงแรมนั้นไมคอยเปนที่นาสนใจหรือเปนประเด็นที่ผูบริโภคจะ พิจารณาเลือกใชบริการ
  • 26. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 26 2.5 คาใชจายเฉลี่ยตอครั้งในการใชบริการ - ผูบริโภคที่ใชจายเฉลี่ยตอครั้งนอยกวา 500 บาทมีทั้งหมด 44 คน คิดเปนรอยละ 31 - ผูบริโภคที่ใชจายเฉลี่ยตอครั้งระหวาง 501-1,500 บาทมีทั้งหมด 56 คน คิดเปนรอยละ 40 - ผูบริโภคที่ใชจายเฉลี่ยตอครั้งระหวาง 1,501-3,000 บาทมีทั้งหมด 32 คน คิดเปนรอยละ 23 - ผูบริโภคที่ใชจายเฉลี่ยตอครั้งมากกวา 3,000 บาทขึ้นไปมีทั้งหมด 8 คน คิดเปนรอยละ 6 จากขอมูลแผนภูมิขางตนสรุปไดวากลุมลูกคาที่ใชบริการในสปาเปนกลุมลูกคาที่มีอํานาจในการซื้อ ที่คอนขางสูงซึ่งทําใหรานคาสามารถตั้งราคาคาใชบริการไดสูง กลุมลูกคาเปาหมาย เนื่องจากตลาดสปามีการแขงขันสูง ดังนั้นการดําเนินธุรกิจจึงตองมีการวางแผนและกําหนด กลยุทธทางการตลาดอยางรอบคอบชัดเจน และมีประสิทธิภาพ ซึ่งหนึ่งในกระบวนการดังกลาวคือ การ กําหนดกลุมลูกคาเปาหมายใหชัดเจน เพื่อที่จะสามารถวางแผนการตลาดตางๆไดอยางมีประสิทธิภาพ เชน กลยุทธดานราคาหรือสินคาและบริการ และเนื่องจากตลาดสปาจัดวาเปนธุรกิจใหมซึ่งยังมีผูบริโภคจํานวน มากที่ไมรูจักวาสปาคืออะไรและมีบริการอะไรบาง ดังนั้นดวยเงินงบประมาณที่จํากัดจึงตองมีการวาง แผนการลงทุนใหมีประสิทธิผลสูงสุด นั้นก็คือตองเนนการลงทุนไปที่เฉพาะกลุมลูกคาเปาหมายเทานั้น มิฉะนั้นจะทําใหการลงทุนไมไดผลตามที่ตองการ เสียเวลาและเสียโอกาสในการทําตลาด สําหรับรายละเอียดทางดานประชากรศาสตรของกลุมลูกคาเปาหมายมีดังนี้ • กลุมหลัก (Primary) - เพศหญิง และชาย (หญิง 60% และชาย 40%) - สัญชาติไทย
  • 27. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 27 - อายุระหวาง 25 – 45 ป - อาชีพพนักงานของบริษัททั่วไป และเจาของกิจการ - การศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป - มีรายไดตั้งแต 30,000 บาทขึ้นไป - อาศัยอยูในบริเวณเขตบางนาและภายในรัศมี 10 กิโลเมตร • กลุมรอง (Secondary) - เพศหญิง และชาย - สัญชาติไทย - อายุระหวาง 18 – 24 ป - นักศึกษาในระดับอุดมศึกษา และพนักงานบริษัททั่วไป - มีรายไดระหวาง 15,000-30,000 บาท - อาศัยอยูในบริเวณเขตบางนาและภายในรัศมี 10 กิโลเมตร • ขอมูลทางจิตวิทยา (Psychological) - กลุมลูกคาเปาหมายตองเปนคนที่ใหความสนใจและดูแลสุขภาพของตนเอง ไมเพียงแต ตองการการคลายความเครียด แตตองการฟนฟูสุขภาพรางกายและจิตใจดวย - กลุมลูกคาเปาหมายจะเปนคนที่มีความมั่นใจในตัวเอง - ตองการเปนที่ยอมรับในสังคมและหมูเพื่อนฝูง - ชอบงานสังสรรคหรือสังคมกับเพื่อน ขนาดของตลาด ตลาดสปาเปนตลาดที่มีความนาสนใจและมีศักยภาพ ตลาดมีอัตราการเติบโตสะสมสูงมาก ถึง 2,228 3,655 0 1000 2000 3000 4000 2543 2545 ลานบาท
  • 28. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 28 รอยละ 64 ในชวงป 2543-2545 ที่ผานมา โดยในป 2545 นั้นตลาดมีมูลคารวมอยูที่ 3,655 ลานบาท (แหลง ขอมูล : Thai Spa Association, www.bangkokpost.net) จากผูประกอบการทั้งหมดประมาณ 250 ราย ทั่วประเทศ โดยรายไดที่ไดจากการใชบริการใน สปาประมาณ2,924 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ80 ของตลาดรวมทั้งหมดเปนรายไดที่ไดมาจากนักทองเที่ยว ชาวตางชาติที่เขามาใชบริการโดยเฉพาะตามโรงแรมและรีสอรทตางๆ ตามสถานที่ที่เปนแหลงทองเที่ยวที่มี ชื่อเสียง และรายไดประมาณ 741 ลานบาท ไดมาจากผูบริโภคภายในประเทศ แผนภูมิแสดงสัดสวนตลาดโดยแบงกลุมลูกคา ดังนั้นจากแนวโนมการเติบโตทางธุรกิจทางบริษัทฯไดมีการคาดการณวาตลาดสปานาจะมีอัตรา การเติบโตอยางตอเนื่อง และตลาดจะมีมูลคารวมอยูที่ประมาณ 4,200 ลานบาทในป 2547 เหตุผลเนื่องจาก สภาพเศรษฐกิจที่ฟนตัวดีขึ้น ผูบริโภคมีการใชจายมากขึ้น และที่สําคัญมีการเปดใหมีบริการสปาในโรงแรม และรีสอรทเกือบทุกแหงเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีการขยายตัวของสปาในรูปแบบสแตนอโลนโดยเฉพาะ ในจังหวัดกรุงเทพมหานครและจังหวัดใหญในแตละภาคซึ่งภาครัฐก็ไดสงเสริมการลงทุนในธุรกิจขนาดเล็ก ถึงขนาดกลาง (SME) และนอกจากนั้นรัฐบาลยังใชงบประมาณในการสงเสริมการทองเที่ยวเพื่อดึงดูด ชาวตางชาติใหเขาประเทศ 20% 80% ลูกคาชาวตางชาติ ลูกคาคนไทย
  • 29. ลิขสิทธิ์ของกรมสงเสริมอุตสาหกรรม วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล 29 ยอดขายประมาณการ จากมูลคาตลาดรวมของสปา 3,655 ลานบาท ในป 2545 ธุรกิจสปาที่ตั้งในโรงแรมและรีสอรท มีสวนแบงทางการตลาดอยูมากถึงรอยละ 80 หรือประมาณ 2,924 ลานบาท และสปาที่ตั้งอยูในรูปสแตน อโลน มีสวนแบงทางการตลาดอยูที่ประมาณรอยละ 20 หรือ 731 ลานบาท ทางบริษัท The Spa คาดการณวาตลาดจะมีมูลคาประมาณ 4,200 ลานบาทในป 2547 แตสวน แบงของตลาดนาจะมีสัดสวนที่เปลี่ยนแปลงไปในป 2546 โดยธุรกิจสปาที่ตั้งในโรงแรมและรีสอรทจะมี สวนแบงทางการตลาดอยูที่ประมาณ รอยละ 70 ในขณะที่สปาที่ตั้งอยูในรูปสแตนอโลนจะมีสวนแบงทาง การตลาดอยูที่ประมาณรอยละ 30 เนื่องจากมีการขยายตัวทางธุรกิจจากนักลงทุนเพิ่มมากขึ้น ทางบริษัท The Spa ไดประมาณการณยอดขายอยูที่ 13 ลานบาท ในป 2547