ซุนเกี๋ยน
ซุนเกี๋ยน (ซุน เจียน) | |
---|---|
孫堅 | |
ภาพวาดของซุนเกี๋ยนสมัยราชวงศ์ชิง | |
ขุนพลพิชิตอนารยชน (破虜將軍) (ภายใต้อ้วนสุด) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 190 – ค.ศ. 191 | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
ข้าหลวงมณฑลอิจิ๋ว (豫州刺史) (ภายใต้อ้วนสุด) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 190 – ค.ศ. 191 | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
ก่อนหน้า | ขงมอ |
เจ้าเมืองเตียงสา (長沙太守) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 187 – ค.ศ. 190 | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเลนเต้ พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 155 อำเภอฟู่ชุน เมืองง่อกุ๋น (ปัจจุบันอยู่บริเวณเขตฟู่หยาง เมืองหางโจว มณฑลเจ้อเจียง) |
เสียชีวิต | ค.ศ. 191 (อายุ 36 ปี) [a] ซงหยง |
คู่สมรส |
|
บุตร | |
บุพการี |
|
ความสัมพันธ์ | ดู พงศาวลีง่อก๊ก |
อาชีพ | ขุนพล, นักการเมือง, ขุนศึก |
ชื่อรอง | เหวินไถ (文臺) |
บรรดาศักดิ์ | อูเฉิงโหฺว (烏程侯) |
สมัญญานาม | จักรพรรดิอู่เลี่ย (武烈皇帝) |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | จักรวรรดิฮั่น พันธมิตรกวันตง ทัพอ้วนสุด |
หน่วย | ทัพซุนเกี๋ยน |
ผ่านศึก | กบฏหือฉง กบฏโพกผ้าเหลือง กบฏเลียงจิ๋ว การทัพปราบตั๋งโต๊ะ ยุทธการที่ซงหยง |
ซุนเกี๋ยน (ซุน เจียน) | |||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 孫堅 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 孙坚 | ||||||
|
ซุนเกี๋ยน (ค.ศ. 155 – 191) หรือชื่อในภาษาจีนกลางว่า ซุน เจียน (จีน: 孫堅; พินอิน: Sūn Jiān; ) ชื่อรอง เหวินไถ (文臺) เป็นขุนพล นักการเมือง และขุนศึกที่มีชีวิตในช่วงปลายสมัยราชวงศ์ฮั่นตะวันออกของจีน[2] ซุนเกี๋ยนเป็นพันธมิตรกับอ้วนสุดในปี ค.ศ. 190 เมื่อเหล่าขุนศึกในภาคตะวันออกของจีนรวมตัวกันเป็นกองทัพพันธมิตรเพื่อขับไล่ตั๋งโต๊ะ ขุนศึกเผด็จการผู้กุมพระเจ้าเหี้ยนเต้จักพรพรรดิหุ่นเชิดไว้ในอำนาจ แม้ว่าซุนเกี๋ยนจะไม่ได้ครอบครองกองกำลังและอาณาเขตมากนัก แต่ความกล้าหาญและปฏิภาณของตัวซุนเกี๋ยนก็ทำให้ตั๋งโต๊ะหวาดกลัว ยกให้ซุนเกี๋ยนมีความสำคัญในฐานะบุคคลทรงอิทธิพลที่สุดในเวลานั้นเทียบเท่าอ้วนเสี้ยว อ้วนสุด และเล่าเปียว หลังทัพพันธมิตรแยกสลายในปีถัด จีนตกอยู่ภาวะสงครามกลางเมืองครั้งใหญ่ ในปี ค.ศ. 191 ซุนเกี๋ยนถูกสังหารระหว่างการรบกับเล่าเปียว
ซุนเกี๋ยนยังเป็นบิดาของซุนกวน หนึ่งบุคคลสำคัญของยุคสามก๊กผู้ในที่สุดก็สถาปนารัฐง่อก๊กและตั้งตนเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกในปี ค.ศ. 229 ซุนเกี๋ยนได้รับสมัญญานามย้อนหลังเป็น จักรพรรดิอู่เลี่ย (武烈皇帝)
ประวัติช่วงต้นและการรับราชการ
[แก้]ซุนเกี๋ยนเกิดที่อำเภอฟู่ชุน (富春縣) เมืองง่อกุ๋น (อู๋จวิ้น) ซึ่งปัจจุบันอยู่บริเวณเขตฟู่หยาง มณฑลเจ้อเจียง กล่าวกันว่าซุนเกี๋ยนสืบเชื้อสายมาจากซุนบู๊ ผู้เขียนพิชัยสงครามซุนจื่อ ไม่มีบันทึกที่เหลือรอดที่กล่าวถึงภูมิหลังครอบครัวของซุนเกี๋ยน อาจอนุมานได้ว่าครอบครัวของซุนเกี๋ยนอันมีบทบาทมากในสมัยราชวงศ์ฮั่น[3] แม้แต่ชื่อบิดาของซุนเกี๋ยนก็ไม่มีการบันทึกได้ แม้ในนิทานพื้นบ้านจะให้ชื่อบิดาของซุนเกี๋ยนว่าซุน จ้ง (孫鍾).[4]
ในวัยหนุ่ม ซุนเกี๋ยนเป็นข้าราชการในอำเภอบ้านเกิด เมื่อซุนเกี๋ยนอายุ 16 ปีได้เดินทางพร้อมกับบิดาไปยังเจียนต๋อง (เฉียนถัง) แล้วกับพบกลุ่มโจรสลัดกำลังแบ่งของที่ปล้นได้บนบก ซุนเกี๋ยนกระโดดขึ้นฝั่งพร้อมกับกระบี่ในมือและชี้ไปในทิศทางต่าง ๆ ราวกับกำลังสั่งให้กองทหารออกไปล้อมกลุ่มโจรสลัด เมื่อพวกโจรสลัดเห็นเช่นนั้นก็ถูกหลงเชื่อว่ามีทหารอยู่จริง ๆ และแตกหนีไป ซุนเกี๋ยนไล่ตามและสังหารโจรสลัดได้คนหนึ่ง ซุนเกี๋ยนเริ่มมีชื่อเสียงขึ้นเพราะเหตุการณ์นี้
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ร่วมทัพพันธมิตรปราบตั๋งโต๊ะ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
บั้นปลายชีวิต
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ครอบครัว
[แก้]
เฉินชื่อ 陳氏 | 'ซุนเกี๋ยน' (ซุน เจียน) 孫堅 เหวินไถ 文台 | งอฮูหยิน อู๋ชื่อ 吳氏 | งอเก๋ง อู๋ จิ่ง 吳景 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
{{{ (}}} | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พัวโยย พาน จฺวิ้น 潘濬 เฉิงหมิง 承明 | ซุนลอง (ซุน หล่าง) 孫朗 เจ่าอัน 早安 | ซุนเซ็ก (ซุน เช่อ) 孫策 โป๋ฝู 伯符 | ซุนกวน (ซุน เฉฺวียน) 孫權 จ้งโหมว 仲謀 | ซุนเซียง (ซุน อี้) 孫翊 ชูปี้ 叔弼 | ซุนของ (ซุน ควัง) 孫匡 จี้จั่ว 季佐 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
พาน มี่ 潘祕 | บุตรสาว (ไม่ปรากฏชื่อ) | บุตรสาว (ไม่ปรากฏชื่อ) | หง จือ 弘咨 | เล่าปี่ (หลิว เป้ย์) 劉備 เหี้ยนเต๊ก (เสฺวียนเต๋อ) 玄德 | ซุนฮูหยิน (ซุนชื่อ) 孫氏 | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ในนิยายสามก๊ก
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ในวัฒนธรรมร่วมสมัย
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]- ↑ อู๋ลู่บันทึกว่าซุนเกี๋ยนเสียชีวิตขณะอายุ 37 ปี (ตามการนับอายุแบบเอเชียตะวันออก) ในปี ค.ศ. 191[1]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ (吳錄曰:堅時年三十七。) อรรถาธิบายจากอู๋ลู่ในจดหมายเหตุสามก๊ก เล่มที่ 46.
- ↑ de Crespigny (2007), p. 769.
- ↑ de Crespigny (2004), p. 72.
- ↑ de Crespigny (2004), p. 73.
- ตันซิ่ว (ศตวรรษที่ 3). จดหมายเหตุสามก๊ก (ซันกั๋วจื้อ).
- de Crespigny, Rafe (2004) [1990]. Generals of the South (internet ed.). Faculty of Asian Studies, Australian National University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-06-07.
- de Crespigny, Rafe (2018) [1st pub. 1990]. Generals of the South: the foundation and early history of the Three Kingdoms state of Wu (PDF) (Internet (2nd) ed.).
- de Crespigny, Rafe (2007). A biographical dictionary of Later Han to the Three Kingdoms (23–220 AD). Leiden: Brill. ISBN 978-90-04-15605-0.
- ฟ่าน เย่ (ศตวรรษที่ 5). จดหมายเหตุราชวงศ์ฮั่นยุคหลัง (โฮ่วฮั่นชู).
- ล่อกวนตง (ศตวรรษที่ 14). สามก๊ก (ซันกั๋วเหยี่ยนอี้).
- เผย์ ซงจือ (ศตวรรษที่ 5). อรรถาธิบายจดหมายเหตุสามก๊ก (ซันกั๋วจื้อจู้).
- ซือหม่า กวัง (ค.ศ. 1084). จือจื้อทงเจี้ยน.